210 likes | 575 Views
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน. ดร.รังสรรค์ โฉมยา วท.ด (พฤติกรรมศาสตร์). ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ ห้องทำงาน อาคารเอนกประสงค์ คณะศึกษาศาสตร์ ห้อง 5601. โทรศัพท์ 0-4374-3143 ต่อ 116 0-4374-2823-31 ต่อ 1663 โทรสาร 0-4372-1746.
E N D
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน
ดร.รังสรรค์ โฉมยา วท.ด (พฤติกรรมศาสตร์)
ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนวภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ ห้องทำงาน อาคารเอนกประสงค์ คณะศึกษาศาสตร์ ห้อง 5601
โทรศัพท์ 0-4374-3143 ต่อ 116 0-4374-2823-31 ต่อ 1663 โทรสาร 0-4372-1746
แผนการสอนรายวิชา 199103 จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน (Psychology in Daily Life) 2(2-0)
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมายและขอบข่ายของ จิตวิทยา ความต้องการพื้นฐานของบุคคลในฐานะ ที่เป็นต้นตอแห่งพฤติกรรม
ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่สามารถผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่สามารถ รับรู้ได้ด้วยตา หู จมูก และการสัมผัส ต่อสภาพอารมณ์และประสิทธิภาพ ในการทำงาน ความเครียดและวิธีลดความเครียด
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับการเปลี่ยนปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับการเปลี่ยน แปลงเจตคติ ความเชื่อ และความคิดของ บุคคล การพัฒนาบุคลิกภาพ และการสื่อ ความหมายเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี กับผู้อื่น
จุดประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์และพฤติกรรม ของตนเอง
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ พฤติกรรมของตนเอง เพื่อการพัฒนา บุคลิกภาพและสร้างสัมพันธภาพที่ดี กับผู้อื่น
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ ความรู้ทางจิตวิทยา เพื่อความสุข ในการดำรงชีวิตและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน
กำหนดเวลาการสอน สัปดาห์ที่ 1-2 แนะนำขอบข่ายเนื้อหา และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ สัปดาห์ที่ 3-4 ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม
สัปดาห์ที่ 5-6 ปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมมนุษย์ สัปดาห์ที่ 7 สุขภาพจิตและองค์ประกอบ ที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต
สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9-10 ธรรมชาติและการปรับตัวของ มนุษย์
สัปดาห์ที่ 11 บุคลิกภาพ สัปดาห์ที่ 12 ความเครียด สัปดาห์ที่13-14 การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 15 ทบทวนก่อนสอบ สัปดาห์ที่ 16 สอบปลายภาค
กิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยาย อภิปราย แบ่งกลุ่มย่อย 2. ค้นคว้าจากเอกสาร ตำรา งานวิจัย และ Internet 3. การรายงานหน้าชั้นเรียน 4. สอบ
การประเมินผล 1. ความสนใจและความร่วมมือ ในกิจกรรมการเรียน 10% 2. งานที่ได้รับมอบหมายและ รายงานหน้าชั้นเรียน 40% 3. สอบกลางภาค 20 % 4. สอบปลายภาค 30 %