100 likes | 215 Views
งานรวมพลังอาสาปศุสัตว์ไทย เทิดไท้องค์ราชัน. วัตถุประสงค์
E N D
งานรวมพลังอาสาปศุสัตว์ไทยเทิดไท้องค์ราชันงานรวมพลังอาสาปศุสัตว์ไทยเทิดไท้องค์ราชัน วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมพรรษา ครบ ๘๔ พรรษา เพื่อให้อาสาปศุสัตว์ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการธนาคารโค – กระบือเพื่อเกษตรกรตามพระราชดำริ เกิดความภาคภูมิใจ เป็นการสร้างขวัญกำลังใจ และเป็นการเพิ่มความรู้ให้กับอาสาปศุสัตว์
การดำเนินงานรวมพลังอาสาปศุสัตว์ไทยเทิดไท้องค์ราชันการดำเนินงานรวมพลังอาสาปศุสัตว์ไทยเทิดไท้องค์ราชัน แบ่งออกเป็น ๒ ขั้นตอน ๑. การประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาปศุสัตว์ในพื้นที่สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๔วันเสาร์ที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๔ ณ บริเวณศาลากลางจังหวัดนครพนม อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม ๒. อาสาปศุสัตว์ปฏิบัติงานในหมู่บ้านที่มีโครงการ ธคก. ระหว่างวันที่ ๒๕ เมษายน – ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานการประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาปศุสัตว์ในพื้นที่สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๔ ๑. สสอ.ที่ ๔ ขออนุมัติจัดการประชุมฯ ๒. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด คัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเข้าร่วมประชุมฯ ๓. สสอ.ที่ ๔ ดำเนินการจัดการประชุมฯ ๔. สสอ.ที่ ๔ สรุป และประเมินผลการประชุมฯ
จำนวน และคุณสมบัติผู้เข้าประชุม อาสาปศุสัตว์ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการธนาคารโค – กระบือ เพื่อเกษตรกรตามพระราชดำริ จำนวน๒๐๐ คน ดังนี้ (มีค่าพาหนะสำหรับ อาสาปศุสัตว์เหมาจ่าย คนละ ๒๐๐ บาท ยกเว้นนครพนมคนละ ๑๐๐ บาท)
เนื้อหาในการประชุมสัมมนาเนื้อหาในการประชุมสัมมนา ๑. โครงการธนาคารโค – กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ ๒. การมีส่วนร่วมของอาสาปศุสัตว์ในการพัฒนาปศุสัตว์ไทย และโครงการ ธคก. ๓. การดำเนินงานรวมพลังอาสาปศุสัตว์ไทยเทิดไท้องค์ราชัน ๔. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานของอาสาปศุสัตว์ ๕. การมอบรางวัลอาสาปศุสัตว์ดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๔ ๖. การจัดนิทรรศการอาสาปศุสัตว์ดีเด่น
ค่าใช้จ่ายในการประชุมสัมมนาค่าใช้จ่ายในการประชุมสัมมนา ค่าใช้จ่ายที่ สสอ.๔ รับผิดชอบ - ค่าอาหารกลางวัน และค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม - ค่าพาหนะสำหรับอาสาปศุสัตว์เหมาจ่ายคนละ ๒๐๐ บาท (ยกเว้นนครพนมคนละ๑๐๐ บาท) ค่าใช้จ่ายที่ สนง.ปศจ.รับผิดชอบ - ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าใช้จ่ายอื่นๆของเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานอาสาปศุสัตว์ปฏิบัติงานในหมู่บ้านที่มีโครงการ ธคก. ๑. สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขศาสตร์สัตว์ที่ ๔ ขออนุมัติโครงการ จัดทำแบบรายงานผลการปฏิบัติงานของอาสาปศุสัตว์ ๒. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด คัดเลือกอาสาปศุสัตว์เข้าร่วมโครงการ และแจ้งให้อาสาปศุสัตว์ดำเนินการ ระหว่างวันที่ ๒๕ เม.ย – ๕ พ.ค ๒๕๕๔ ๓. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด รวบรวมผลการปฏิบัติงานของอาสาปศุสัตว์ (ตามแบบรายงาน) ส่งให้ สสอ.ที่ ๔ ภายในวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ๔. สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขศาสตร์สัตว์ที่ ๔ สรุปและประเมินผลโครงการ ส่งกรมปศุสัตว์ภายในวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔
เครือข่ายอาสาปศุสัตว์ในพื้นที่เครือข่ายอาสาปศุสัตว์ในพื้นที่ สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 4 อุดรธานี 2,329 ราย หนองคาย 1,361 ราย หนองบัวลำภู 832 ราย สกลนคร 715 ราย เลย 1,812 ราย นครพนม 1,211 ราย มุกดาหาร 711 ราย ขอนแก่น 2,496 ราย กาฬสินธุ์ 1,157 ราย อาสาปศุสัตว์ในพื้นที่ สสอ. 4 รวมทั้งสิ้น 14,599 ราย มหาสารคาม 1,974 ราย
ข้อมูลจำนวนสัตว์ ธคก. ในพื้นที่ สสอ.4