1 / 32

ทิศทาง การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ทิศทาง การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการ กพฐ. ประเด็นที่บรรยาย. ภาพอนาคต ผลการทดสอบ O-NET การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก. ภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต.

Download Presentation

ทิศทาง การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการ กพฐ.

  2. ประเด็นที่บรรยาย • ภาพอนาคต • ผลการทดสอบ O-NET • การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล • การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก

  3. ภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคตภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต ภาพลักษณ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญ เป็นเครื่องมือในการช่วยกำหนดทิศทาง การดำเนินงานในอนาคตได้อย่างชัดเจน ทำให้เกิดความเข้าใจในงาน และแนวทาง การดำเนินงานที่ชัดเจน จากการประมวลความคิดเห็นของคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ชุดที่ ๒ พบว่า ภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต ควรประกอบด้วย ๑) ภาพลักษณ์นักเรียน ๒) ภาพลักษณ์หลักสูตรการศึกษา ๓) ภาพลักษณ์สถานศึกษา ๔) ภาพลักษณ์การบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕) ภาพลักษณ์ครูและบุคลากรทางการศึกษา

  4. 1. ภาพลักษณ์นักเรียน ภาพลักษณ์นักเรียน : ตั้งมั่นในคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนาความรู้ ใจมั่นคงเป็นสุข ยึดมั่นความเป็นไทย ก้าวมั่นสู่อนาคต • เก่ง : มุ่งมั่นพัฒนาความรู้ โดยมีทักษะความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมีนิสัย ใฝ่เรียนรู้เรียนรู้ด้วยตัวเอง และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตมีความสามารถในการสื่อสาร คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ • ดี : ตั้งมั่นในคุณธรรม โดยมีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ทำงานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม รังเกียจการทุจริตทุกระดับ และต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง

  5. 1. ภาพลักษณ์นักเรียน (ต่อ) • มีสุข : ใจมั่นคงเป็นสุข โดยมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่สมบูรณ์ แข็งแรง • ความเป็นไทย : ยึดมั่นความเป็นไทย โดยมีจิตสำนึกและความภูมิใจในความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • เทคโนโลยี : ก้าวมั่นสู่อนาคต โดยใช้ภาษาอย่างน้อยสองภาษา ใช้เทคโนโลยีอย่างเท่าทัน พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

  6. 2. ภาพลักษณ์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน • หลักสูตรที่ตอบสนองต่อศักยภาพของนักเรียนอย่างแท้จริง • เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ เน้นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมหน้าที่พลเมือง และความเป็นไทย • หลักสูตรมีความเหมาะสมกับท้องถิ่น และพร้อมสู่สากล • หลักสูตรสามารถนำไปสู่อาชีพได้จริง

  7. 3. ภาพลักษณ์ของครูและบุคลากรทางการศึกษา • เป็นผู้เอื้ออำนวยให้เกิดการเรียนรู้ บริหารและจัดการศึกษา • เป็นคนเก่งมีความรู้ในวิชาชีพของตนเอง พร้อมพัฒนาตนเอง • แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง • เป็นคนดี มีจิตสำนึก มีใจพร้อมให้บริการ

  8. 3. ภาพลักษณ์ของครูและบุคลากรทางการศึกษา (ต่อ) • ทำงานด้วยความทุ่มเท เสียสละ และปฏิบัติงานตามหน้าที่เต็มเวลา เต็มความสามารถ • ใช้ทักษะการสื่อสารทางบวก เสริมแรง รับฟัง ตอบรับการฟัง ให้กำลังใจ • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี พร้อมรับในการเปลี่ยนแปลง • ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิใจในความเป็นไทย

  9. 4. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษา • เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน • มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมต่อการจัดการศึกษา • มีบรรยากาศสภาพแวดล้อมให้น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน • มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีสู่การเรียนการสอน

  10. 4. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษา (ต่อ) • มีทรัพยากรทางการจัดการศึกษา และการบริหารการศึกษาอย่างเพียงพอ • เป็นแบบอย่างในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม • ชุมชนภาคภูมิใจ และมีส่วนร่วมจัดการศึกษา • มีจำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอตามเกณฑ์

  11. 5. ภาพลักษณ์ของการบริหารจัดการของ สพท. / สพฐ. • มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมในการปฏิบัติงานและให้บริการ • มีบุคลากรพอเพียงมีความรู้ความสามารถ และเต็มใจบริการ • มีการกระจายอำนาจ และบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (ยึดหลักนิติธรรม คุณธรรม โปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคุ้มค่า) • ส่งเสริมการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการระหว่างใน และนอกหน่วยงานและต่างกระทรวง

  12. 5. ภาพลักษณ์ของการบริหารจัดการของ สพท. / สพฐ. (ต่อ) • ใช้เทคโนโลยีบริหารจัดการอย่างที่มีประสิทธิภาพ • ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า และรักษ์สิ่งแวดล้อม • เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา • มีการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน

  13. ผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

  14. ผล O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ใน 3 ปีการศึกษา

  15. ผล O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 3 ปีการศึกษา

  16. ผล O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ใน 3 ปีการศึกษา

  17. ค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 6) ปีการศึกษา 2554

  18. ผล O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ใน 3 ปีการศึกษา 50 70

  19. การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากลการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล

  20. FIVE STEPS FOR STUDENT DEVELOPMENT Learning to serve PUBLIC SERVICE Learning to communicate EFFECTIVE COMMUNICATION Learning to construct Learning to search KNOWLEDGE FORMATION Learning to question KNOWLEDGE SEARCHING HYPOTHESIS FORMULATION

  21. 5 จุดเน้นผู้เรียน 1 เป็นเลิศวิชาการ • ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 2 4 3 สื่อสาร 2 ภาษา 5 ส้ำหน้าทางความคิด ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

  22. โรงเรียนมาตรฐานสากล ( World-Class Standard School ) 1 เป็นเลิศวิชาการ 5 2 ร่วมกันรับผิดชอบ ต่อสังคมโลก สื่อสาร 2 ภาษา ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก World Citizen 3 4 ผลิตงาน อย่างสร้างสรรค์ ล้ำหน้า ทางความคิด TQA OBEQA SQA การบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ Quality System Management การจัดการเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล World-Class Standard

  23. การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกการเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก

  24. โครงสร้างประชาคมอาเซียนและพันธกรณีโครงสร้างประชาคมอาเซียนและพันธกรณี ความเป็นมาและความเกี่ยวข้องด้านการศึกษา ประชาคม การเมืองและความมั่นคง APSC ประชาคม อาเซียน (ASEAN Community) ประชาคม เศรษฐกิจ AEC พัฒนาการเมือง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ร่วมมือ ป้องกันทางทหาร สร้างความมั่นคงอาเซียน เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ และแข็งแกร่ง พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สวัสดิการสังคม ลดความยากจน ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคม ผ่านกรอบอนุภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม 1. ตลาด-ฐานการผลิตเดียว/เสรีการค้า-การลงทุน- การเลื่อนไหลของแรงงานฝีมือ 2. ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน 3. มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และ 4. บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมASCC ข้อกำหนดสำคัญในกฎบัตรอาเซียน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาการทำงาน ข้อเสนอร่วมด้านการเรียนการสอน พัฒนาการเรียนการสอนด้วยASEAN Curriculum ข้อตกลง AEC ด้านการเลื่อนไหลแรงงาน แรงงานฝีมือ 7 สาขาอาชีพ (วิศวกร/สถาปนิก/ช่างสำรวจ /แพทย์/ทันตแพทย์/พยาบาล/นักการบัญชี) +32 ตำแหน่งงาน

  25. ยุทธศาสตร์ สพฐ. 2556-2560 1. ยกระดับคุณภาพการเรียนตามหลักสูตรฯ 8 กลุ่มวิชา โดยเน้นวิทย์/คณิต/สังคมศึกษา 2. จัดการเรียนการสอนหลักสูตรร่วมอาเซียนโดย บูรณาการกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. กำหนดมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับ อาเซียนและศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการศึกษา ภาคบังคับ เพื่อประกอบอาชีพในตลาดแรงงาน 4. เพิ่มความเข้มแข็ง/จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษาในร.ร. 1. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาบุคลากรให้รอบรู้และติดตามความเคลื่อนไหวของอาเซียนและสังคมโลก 3. ใช้คุณสมบัติ 1-2 ประกอบการพิจารณาให้รางวัล/เลื่อนระดับ 1. พัฒนาhardware/software/people-ware 2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน/เชื่อมโยงความรู้สากลด้วย ICT 3. ผลิตและส่งเสริมการใช้สื่อความรู้ระบบ digital และ e-learning • พัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน • จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการอาเซียน 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันและ หน่วยงานทั้งในและนอกอาเซียน 2. พัฒนาภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหาร/ครู/นร. ด้วยโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ 3. ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้ นร./ครูได้ แสดงศักยภาพในเวทีระหว่างประเทศ 1. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (ระดับโรงเรียน/ พื้นที่/) 2. ประสานและจัดทำข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับทุนวิจัยที่เกี่ยวกับอาเซียน 6. 1. จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน (ระดับสพฐ. และพื้นที่ ) 2. พัฒนาวิทยากรแกนนำด้าน ASEAN / พัฒนาบุคลากรด้านต่างๆ 3. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 4. ประสานและจัดทำข้อมูลต่างๆ 5. ASEAN Watch –กำกับติดตาม วิจัย และพัฒนา 7. 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับประชาคมอาเซียน

  26. 21th Century Learning CONNECT ● Digital literacy skill ● Communication skill CREATE● Thinking skill ● Problem solving skill ● Creativity & innovation skill COLLABORATE● Interpersonal skill ● Teamwork ● Social responsibility ● Accountability Reference: Partnership for 21st Century Skills

  27. สมรรถนะครูสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยซีมีโอ • ● จัดทำแผนการสอนที่ให้สอดคล้องกับ • วิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน • ● สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ • ● พัฒนาและใช้แหล่งการเรียนการสอน • ● พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง • ● ส่งเสริมการเรียนรู้ • ● ยกระดับค่านิยมคุณธรรมจริยธรรม • ● พัฒนาทักษะชีวิตและวิชาชีพของผู้เรียน • ● วัดและประเมินสรรถภาพของผู้เรียน • ● มีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาชีพ • ● สร้างเครือข่ายกับผู้มีส่วนร่วมต่างๆ

  28. คุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21Characteristics ปรับตัวได้ง่าย Adapter กล้าได้กล้าเสีย Risk Taker สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ Communicator ร่วมแรงร่วมใจ Collaborator เป็นแม่แบบ Model เรียนรู้ตลอดชีวิต Learner ผู้นำ Leader มีวิสัยทัศน์ Visionary Source: Andrew Churches

  29. สมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21Competencies Technology Communication Assessment Diversity Critical Thinking Planning Continuous Improvement Knowledge Subject matter Learning Environment Human Development and Learning

  30. ASEAN Curriculum 1. Knowing ASEAN 2. Valuing Identity and Diversity 3. Connecting Global and Local 4. Promoting Equity and Justice 5. Working Together for a Sustainable Future

  31. Thank You

More Related