190 likes | 426 Views
6. ถอดหลอดไฟบริเวณที่สว่างเกินไป. 8. ลดกำลังไฟฟ้าของหลอด. 1. ปิดไฟบริเวณที่ไม่ใช้. 2. ปิดไฟช่วงพัก. 9. ติดแผ่นสะท้อนแสง. 3. ไม่เปิดไฟก่อนเวลาทำงาน. 10. เปลี่ยนบัลลาสต์เป็น Low Loss. 4. ติดตั้งสวิตช์กระตุก. 11. เปลี่ยนบัลลาสต์เป็น อิเล็กทรอนิกส์. S. 5. แยกสวิตช์.
E N D
6.ถอดหลอดไฟบริเวณที่สว่างเกินไป6.ถอดหลอดไฟบริเวณที่สว่างเกินไป 8.ลดกำลังไฟฟ้าของหลอด 1.ปิดไฟบริเวณที่ไม่ใช้ 2.ปิดไฟช่วงพัก 9.ติดแผ่นสะท้อนแสง 3.ไม่เปิดไฟก่อนเวลาทำงาน 10.เปลี่ยนบัลลาสต์เป็น Low Loss 4.ติดตั้งสวิตช์กระตุก 11.เปลี่ยนบัลลาสต์เป็น อิเล็กทรอนิกส์ S 5.แยกสวิตช์ 7..ปิดไฟบริเวณที่มีแสงธรรมชาติ 12. เปลี่ยนหลอดแสงจันทร์เป็นฟลูออเรสเซนต์ 13. เปลี่ยนหลอดแสงจันทร์เป็นหลอดโซเดียม Lighting System
1. ปิดจอเมื่อไม่ใช้งาน 2. ตั้ง AUTO TURN OFF 3. ปิดเครื่องหลังเลิกงาน 4. ใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน 5. ใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่มีฉลาก energy star 6. ใช้อุปกรณ์ที่มี energy saving mode 7. เลือกอุปกรณ์ที่มี ขนาดเหมาะสม ไม่ใหญ่เกิน Office
1 เปิดแอร์เท่าที่ใช้งาน ปิดก่อนเลิกงาน 2 ปิดช่วงพักเที่ยง 3 ลดความร้อนผ่านหลังคา Air conditioning system 4 ลดความร้อนผ่านกระจก 5 กั้นโซนปรับอากาศ 6 ตั้งอุณหภูมิ 25 -27 องศา 7 ทำความสะอาดสม่ำเสมอ 8 ย้ายโหลดความร้อนออก 9 ระบายความร้อนดี และใช้เบอร์ 5
1.ปิดวาลว์เมื่อไม่ใช้งาน1.ปิดวาลว์เมื่อไม่ใช้งาน 10.ติดตั้งปั๊มลมอินเวอร์เตอร์ 2. NO-LOAD TEST และซ่อมจุดรั่ว 5.จัดการการเดินเครื่อง 3.ลดความดัน 4.แก้ไขการระบายอากาศ 7.ติดตั้งregulator 11.บำรุงรักษา 8.แก้ไขขนาดท่อ ถัง 9.เดินท่อเป็น loop 6.ใช้อากาศอัดอย่างคุ้มค่า
ขนาดท่อ ขนาดถังที่เหมาะสม = 10 x flow(m3/s) m3
ตัวอย่างการทดสอบหาการรั่วไหลของอากาศอัดตัวอย่างการทดสอบหาการรั่วไหลของอากาศอัด ทำการทดสอบในช่วงกลางวัน ซึ่งไม่มีการใช้งานอุปกรณ์ในระบบอัดอากาศ โดยการเดินเครื่อง ขนาด 600 CFM โดยมีการทำงานดังนี้ เวลาขณะ LOAD (TL) = 30 Secs. เวลาขณะ UNLOAD (TUL) = 240 Secs. เพราะฉะนั้นอากาศรั่วไหลในระบบ = = = 0.1111 x 100% = 11.11% อัตราการผลิตอากาศอัดของเครื่อง = 600 CFM ปริมาณอากาศอัดที่รั่วไหล = 0.1111 x 600 = 66.66 CFM 30 TL (TL + TUL) (30 + 240) มาตรฐานการรั่วโดยทั่วไปในระบบที่ยอมรับได้ไม่ควรเกิน 5-10%
9.ป้องกันสิ่งสกปรกความชื้นเข้ามอเตอร์9.ป้องกันสิ่งสกปรกความชื้นเข้ามอเตอร์ 3.จัดการการเดิน 2.เลือกขนาดมอเตอร์ให้เหมาะสม 8.ไม่ควรให้อยู่ใกล้แหล่งความร้อน ระบายความร้อน 1.อย่าเดินมอเตอร์ ตัวเปล่า 7.อัดสารหล่อลื่นตามระยะเวลา 6.สายพาน มีความตึงที่เหมาะสม 4.มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง 5.ปรับลดความเร็วรอบ D=L/100
88 83
1เดินปั๊มเท่าที่จำเป็น1เดินปั๊มเท่าที่จำเป็น 2เดินปั๊มประสิทธิภาพสูง 3จัดการการเดินให้ปั๊มมีประสิทธิภาพสูงสุด 6ลดขนาดปั๊ม 7ลดขนาดใบปั๊ม 8ควบคุมความเร็วรอบตามการใช้งาน 4ลดFLOWที่เกิน 5ลดHEADที่เกิน 9ทำความสะอาด กรอง 10ลด fiction ในระบบ Pump
5อัตราการไหลน้ำเหมาะสม5อัตราการไหลน้ำเหมาะสม 6น้ำระบายความร้อนต้องต่ำสุด 8ฟิลเตอร์AHUสะอาด 9coil AHUไม่ตัน 1เปิดช้าปิดเร็ว 7ติดตั้งVSDปั๊ม 2เดินเท่าที่จำเป็น 3ปรับอุณหภูมิน้ำเย็นสูงขึ้น 4จัดการการเดิน 5ทำความสะอาดคอนเดนเซอร์ Chiller system
Cooling Tower 9ปรับความเร็วรอบพัดลม และควบคุมอุณหภูมิ 3ปรับมุมใบพัดลมพอดี 7ใบพัดลมไฟเบอร์กลาส 1เดินเท่าที่เหมาะสม 2ทำความสะอาดฟิลเลอร์ 8น้ำกระจายดี รูไม่ตัน 4เสียน้ำ < 3% 1appoarch temp Square=3 F Round=3C 10ใช้ozone/ball/ brush 5ลมร้อนไม่ลัดวงจร 6อัตราการไหลน้ำพอดี
10 ทำความสะอาดคอนเดนเชอร์ 9 ติด COOLING PAD 11 ลดอุณหภูมิน้ำระบายความร้อน 12 ระบายอากาศได้ดี (air cool) 8 เดินคอมน้อย ตัวที่โหลดสูง 1 บรรจุของให้เต็มห้อง 13 deforst อย่างสม่ำเสมอ 2 จัดการการ ใช้ห้องเย็น 14 สารทำความเย็นพอดี ไม่มีฟองอากาศ 3 ปรับตั้งอุณหภูมิสูงสุด 15 ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง 4 เปิดประตูเท่าที่จำเป็น 16 เดินfreezer ให้เต็มพิกัด Refigeration system 5 ติดม่านลมม่านพลาสติก 6 ปรับปรุงฉนวนห้อง 7 หมุนเวียนอากาศได้ดี
อุปกรณ์ใช้ไอน้ำ Trap 7 ใช้ความดันต่ำเท่าที่ทำได้ ตรวจสอบอัตราส่วนของก๊าซไอเสียให้ เหมาะที่สุด CO2 = 12.5 – 13 % O2 = 4 - 5 % 2 ปรับอากาศให้เหมาะสม 3 ทำความสะอาดผิวแลกเปลี่ยนความร้อน 10 ช่อมไอน้ำรั่ว 5 ตรวจสอบฉนวน หม้อไอน้ำ ท่อไอน้ำ 9 ตรวจสอบกับดักไอน้ำ 4 บำรุงรักษาหัวเผาทุก…. 1KPIหม้อไอน้ำ การจัดการเดิน 6 คุมน้ำระบายที่ 7000 uS/cm 8 นำคอนเดนเสทมาใช้มากที่สุด
ไอน้ำรั่วไหล อากาศส่วนเกินและประสิทธิภาพ ผิวร้อนไม่หุ้มฉนวน อากาศอัดรั่วไหล
3ไม่ระบายอากาศทิ้งมากเกินไป3ไม่ระบายอากาศทิ้งมากเกินไป 4.หุ้มฉนวนตู้อบ 5.ลดการหมุนเวียนอากาศเท่าที่จำเป็น Dryer System 9.ลดความชื้นชิ้นงาน 10.ชิ้นงานไม่แห้งเกินไป 11.ภาชนะไม่หนัก หมุนเวียนอากาศได้ 7.ลดลมรั่วไหลเข้า/ออกตู้อบ 2ปรับปริมาณอากาศและน้ำมันให้เหมาะสม 8.จัดการทำงานให้ต่อเนื่อง 1ถ้าอุณหภูมิสูงควรนำความร้อนกลับมาใช้ 6.ใช้ Recuoprator
7เดินเต็มกำลังผลิต 12ปรับความเร็วรอบพัดลม 2นำความร้อนในไอเสียกลับมาใช้ 8เดินต่อเนื่อง 11บำรุงรักษา burner 4หุ้มฉนวนเตา 1คุมอุณหภูมิแต่พอดี 9อุ่นวัตถุดิบ 5 ลดช่องเปิดเตา 10ระบายความร้อนแต่พอดี 6ควบคุมความดันในเตา 3ปรับลดอากาศส่วนเกิน Furnace system