270 likes | 564 Views
ภัยมืดจากเครื่องมือแพทย์ที่ไม่ปลอดเชื้อ. รศ.อะเคื้อ อุณหเลขกะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มะลิวัลย์ กรีติยุตานนท์ บริษัท 3M นพ.สมศักดิ์ วัฒนศรี ชมรมหน่วยจ่ายกลาง. อุปกรณ์การแพทย์เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย. อุปกรณ์การแพทย์ส่วนใหญ่ต้องนำกลับมาใช้ซ้ำ.
E N D
ภัยมืดจากเครื่องมือแพทย์ที่ไม่ปลอดเชื้อภัยมืดจากเครื่องมือแพทย์ที่ไม่ปลอดเชื้อ รศ.อะเคื้อ อุณหเลขกะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มะลิวัลย์ กรีติยุตานนท์ บริษัท 3M นพ.สมศักดิ์ วัฒนศรี ชมรมหน่วยจ่ายกลาง
อุปกรณ์การแพทย์เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยอุปกรณ์การแพทย์เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย อุปกรณ์การแพทย์ส่วนใหญ่ต้องนำกลับมาใช้ซ้ำ ผ่านการล้าง การทำลายเชื้อหรือการทำให้ปราศจากเชื้อ (Decontamination)
ความล้มเหลวในกระบวนการการนำอุปกรณ์การแพทย์มาใช้ซ้ำความล้มเหลวในกระบวนการการนำอุปกรณ์การแพทย์มาใช้ซ้ำ เกิดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโรงพยาบาล การระบาดของตาอักเสบหลังผ่าตัดเปลี่ยนเลนส์ การระบาดของเชื้อตับอักเสบ C จากการส่องกล้องลำไส้ใหญ่
ประเภทอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ประเภทอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ • Critical items • Semi-criticalitems • Non-critical items
Critical items • เครื่องมือผ่าตัด • อวัยวะเทียม implantable devices • syringes • สายสวนต่างๆ • เข็ม • bronchoscopes
Semi-criticalitems • อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ • อุปกรณ์ดมยาสลบ • ปรอทวัดไข้ ฯลฯ
Non-critical items • bedpans • urinals • stethoscopes • blood pressure cuffs • ear specula
วิธีการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อวิธีการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ Medical Instrument Critical Items Semi-critical Items Non-critical Items Cleaning Sterilization Disinfection Disinfection Physical Chemical High level Intermediate level Low level
Effective of Disinfection & Sterilization • ความปลอดภัยของผู้ป่วย • มีมาตรฐาน • บุคลากรมีความปลอดภัย • ใช้ทรัพยากรราคาแพงอย่างคุ้มค่า
การขจัดภัยมืดจากเครื่องมือแพทย์ที่ไม่มีคุณภาพการขจัดภัยมืดจากเครื่องมือแพทย์ที่ไม่มีคุณภาพ
ระดับชาติ • กำหนดนโยบาย • กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ • มี Training Course on Disinfection & Sterilization • จัดให้มีที่ปรึกษาเรื่องมาตรฐาน/เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ต่างๆ • จัดตั้งสมาคมวิชาชีพ
ระดับโรงพยาบาล • จัดตั้งคณะทำงานดูแล D&S ให้ครบวงจร เพื่อประเมินทุกหน่วยงานในโรงพยาบาล โดยมีการสรุปและรายงานผลอย่างต่อเนื่อง • พัฒนาระบบ D&S ของโรงพยาบาลให้เป็น centralization โดยการ ระดมสมองจากผู้เกี่ยวข้อง • ใช้ Information ประกอบการตัดสินใจ • ปรับ structure ให้รองรับการเป็น central • ให้ความรู้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง
เครื่องมือพร้อมใช้ ปลอดภัยคนไข้ สบายใจคนรักษา พญ.ประภา รัตนไชย โรงพยาบาลหาดใหญ่ นพ.ภูพิงค์ เอกะวิภาต สถาบันประสาทวิทยา นายอาทิตย์ ชุมทอง กองวิศวกรรมการแพทย์ นพ.สมเกียรติ โพธิสัตย์ กรมการแพทย์
กระบวนการจัดการเครื่องมือแพทย์กระบวนการจัดการเครื่องมือแพทย์ Medical Equipment Planning Cycle
Planning : วางแผนบริหารจัดการ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงพยาบาล Assessment : การประเมินเทคโนโลยี ควรทำควบคู่พร้อมกับการวางแผน Acquisition : การจัดหาให้มีขึ้นเพื่อใช้งาน Utilization & Maintenance : การใช้และบำรุงรักษาให้มีการใช้งานเหมาะสม และไม่เกิดความขัดข้อง Disposition : การเลิกใช้เมื่อหมดอายุ-มีเทคโนโลยีใหม่
Core Process กระบวนการจัดการเครื่องมือแพทย์ • จัดให้มีคณะกรรมการดูแลรับผิดชอบการจัดการเครื่องมือแพทย์ในภาพรวมของโรงพยาบาล ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงพยาบาล โดยองค์ประกอบของกรรมการต้องมาจากหลากหลายหน่วยงาน • วางแผนระยะปานกลาง/ระยะยาว • มีฐานข้อมูลที่ถูกต้อง/update อยู่เสมอ • มีการทบทวนการใช้งาน (Utilization Review)
กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลนำร่องที่น่าสนใจกรณีศึกษารูปแบบการจัดการเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลนำร่องที่น่าสนใจ
ทบทวนการจัดการเครื่องช่วยหายใจ จนสามารถนำไปปฏิบัติเป็นงานประจำ ทำให้นำไปสู่การจัดการเครื่องมือแพทย์อื่นๆในโรงพยาบาล รู้ว่าอะไรอยู่ที่ไหน จัดให้พอเพียงพร้อมใช้ ทำอย่างไรให้ใช้ได้นานๆ จัดอบรมความรู้ผู้ใช้ จัดทำ Preventive Maintenance ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ใช้ โรงพยาบาลหาดใหญ่ กรอบแนวคิด
สถาบันประสาทวิทยา จัดการเครื่องมือแพทย์โดยจ้างเหมาเอกชนมาดำเนินการ
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พัฒนาโปรแกรมการจัดการเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล สังกัดกรมการแพทย์