1 / 42

วิชาการจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

วิชาการจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์. บทที่ 7 TCP/IP และ อินเตอร์เน็ต ( TCP/IP and Internet ) อ. รจนา วานนท์ roseyayee.wordpress.com roseyayee@gmail.com. TCP/IP และอินเทอร์เน็ต (TCP/IP and Internet).

hedy
Download Presentation

วิชาการจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาการจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ บทที่ 7 TCP/IP และอินเตอร์เน็ต(TCP/IP and Internet) อ. รจนา วานนท์ roseyayee.wordpress.com roseyayee@gmail.com

  2. TCP/IP และอินเทอร์เน็ต (TCP/IP and Internet) • TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internetworking Protocol) • เพื่อใช้สำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบออกเป็นชั้นซ้อนกันเรียกว่า โปรโตคอลสแต็ก(Protocol Stack) • สามารถใช้งานเชื่อมโยงได้ดีกับเครือข่ายแบบท้องถิ่น • ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างมาก

  3. ประวัติโดยย่อของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • อินเทอร์เน็ตเกิดจากโครงการเครือข่ายอาร์พาเน็ต(Advanced Research Project Agency Network : ARPANET) ภายใต้กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา • แบบแพ็กเก็ตสวิตชิ่งเชื่อมจุดต่อจุดบนสายสื่อสารความเร็วสูง วัตถุประสงค์ • 1 เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์อยู่ต่างพื้นที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ข้อมูลทางทหาร • 2 จะยังคงสามารถติดต่อกันได้แม้จะโดนโจมตีด้วยนิวเคลียร์ • หลังจากนั้นก็มีการนำมาใช้ในหน่วยงานต่างๆ จนกลายมาเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ประชาชนทั่วไปสามารถใช้งานได้ “เครือข่ายอินเทอร์เน็ต” • ประเทศไทยเราเริ่มใช้งานอินเทอร์เน็ตปี 2530

  4. เครือข่ายระดับสากล (Internetworking) • ทำงานในระดับชั้นสื่อสารฟิสิคัลและดาต้าลิงก์ รับส่งข้อมูลจากโหนดหนึ่งสู่โหนดถัดไป (Hop-to-Hop หรือ Node-to-Node)

  5. ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer) • จากปัญหาก่อนหน้านี้จึงต้องเพิ่มชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กเข้ามาสำหรับส่งมอบข้อมูลในลักษณะ Host-to-Host ซึ่งกำหนดหรือวางเส้นทางแพ็กเก็ตข้อมูลส่งผ่านอุปกรณ์เร้าเตอร์หรือสวิตช์ ให้ส่งข้อมูลระหว่างเครือข่ายได้ • โปรโตคอลอื่นที่สนับสนุนในระดับชั้นนี้เช่น ARP, RARP, ICMP, IGMP

  6. โปรโตคอล IP(Internetworking Protocol) • เป็นกลไกการส่งข้อมูลที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP ในลักษณะคอนเนกชั่นเลส คือไม่รับประกันว่าข้อมูลจะถึงปลายทางหรือไม • ทำให้การทำงานของ IP ไม่ซับซ้อน • มีหน้าที่เพียงนำส่งข้อมูลไปยังปลายทางด้วยหมายเลขไอพี

  7. การกำหนดตำแหน่งที่อยู่ใน IPv4(IPv4 Addressing) • TCP/IP จะกำหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส • ชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต • มีความสำคัญต่อกลไกในการสื่อสารจากโฮสต์หนึ่งไปยังโฮสต์หนึ่งในระบบสื่อสาร • เราจะแบ่งออก 2 ส่วนคือ NetIDและ HostID • NetIDจะระบุเครือข่าย (Physical Network) • HostIDจะระบุตำแหน่งอุปกรณ์ เช่นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ • แมคแอดเดรสเป็นฟิสิคัลแอดเดรส ส่วนไอพีแอดเดรสเป็นแค่ลอจิคัลแอดเดรส

  8. การกำหนดตำแหน่งที่อยู่ใน IPv4(IPv4 Addressing) • แบ่งออกเป็น4 ไบต์หรือ 4 ออคเทต • ออคเทตแรกถูกแบ่งออกไปเป็นตัวบ่งบอกว่าเป็นคลาสอะไร

  9. การแทนค่าไอพีแอดเดรสแบบเลขฐานสองและฐานสิบ (Binary and Dotted Decimal Notation) • จำนวนตัวเลข 32 bit สามารถแทนเลขหมายได้ประมาณ 4 พันล้านเครื่องหรือ 2^32 • แต่ไม่สามารถใช้ได้ทั้งหมดต้องสงวนไว้สำหรับเฉพาะอย่าง • ด้วยความยากต่อการจดจำเราจึงต้องกำหนดด้วยเลขฐานสิบและใช้จดทศนิยมในการคั่นระหว่างออคเทต 10000000 00001011 00000011 00011111 128.11.3.31

  10. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส(Classful Addressing) • แบ่งออกเป็น 5 ชนิดมีคลาส A, B ใช้งานเต็มแล้ว C ยังใช้งานอยู่ในปัจจุบัน • คลาส D ถูกสงวนไว้ใช้มัลติคลาสแอดเดรส • คลาส E ถูกสงวนไว้ใช้ในอนาคต

  11. คลาส A(Class A) • ใช้หมายเลย NetIDขนาด 7 บิต • บิตแรกของออคเทตแรกจะมีค่าเป็น 0 สงวนไว้บ่งบอกว่าเป็นคลาส A • จะมีจำนวนเครือข่ายได้ 27 -2 เครือข่าย • ออคเทตแรกที่มีค่า 0 (00000000) และ 127 (011111111) จะสงวนไว้ • จะมีจำนวนของโฮสต์ขนาด 24 บิตสามารถมีจำนวนโฮสต์ได้ 224 – 2 • เหมาะกับองค์กรหรือหน่วยงานขนาดใหญ่ที่ต้องมีโฮสต์เยอะๆ

  12. คลาส A(Class A)(cont.) • สามารถคำนวณหาแอดเดรสเริ่มต้นกับแอดเดรสสุดท้ายได้ดังนี้

  13. คลาส B(Class B) • ใช้หมายเลย NetIDขนาด 14 บิต • บิตแรกของออคเทตแรกจะมีค่าเป็น 10 สงวนไว้บ่งบอกว่าเป็นคลาส B • จะมีจำนวนเครือข่ายได้ 214 -2 เครือข่าย • จะมีจำนวนของโฮสต์ขนาด 16 บิตสามารถมีจำนวนโฮสต์ได้ 216 – 2 • เหมาะกับองค์กรหรือหน่วยงานขนาดกลาง เช่นสถาบันศึกษา หน่วยงานรัฐ เอกชน

  14. คลาส B(Class B)(cont.) • สามารถคำนวณหาแอดเดรสเริ่มต้นกับแอดเดรสสุดท้ายได้ดังนี้

  15. คลาส C(Class C) • ใช้หมายเลขNetIDขนาด 21 บิต • บิตแรกของออคเทตแรกจะมีค่าเป็น 110 สงวนไว้บ่งบอกว่าเป็นคลาส C • จะมีจำนวนเครือข่ายได้ 221 -2 เครือข่าย • จะมีจำนวนของโฮสต์ขนาด 8บิตสามารถมีจำนวนโฮสต์ได้ 28 – 2 • เหมาะกับองค์กรหรือหน่วยงานขนาดเล็ก

  16. คลาส C(Class C)(cont.) • สามารถคำนวณหาแอดเดรสเริ่มต้นกับแอดเดรสสุดท้ายได้ดังนี้

  17. ความกว้างของไอพีแอดเดรสแต่ละคลาสความกว้างของไอพีแอดเดรสแต่ละคลาส

  18. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (ต่อ) • จะเห็นได้ว่า ไอพีแอดเดรสนั้นไม่ได้ใช้สำหรับชี้ตำแหน่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องอย่างเฉพาะเจาะจงแต่ไอพีแอดเดรสจะใช้บ่งชี้ตำแหน่งการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์กับเครือข่าย

  19. การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting) 141.14.2.12 141.14.23.10 141.14.2.10 Nกดกฟด 141.14.24.110 Network Class B 141.14.0.0 To the rest of the Internet 141.14.4.110 141.14.25.10 141.14.27.12 141.14.23.130

  20. การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting) (cont.) 141.14.2.12 141.14.2.16 141.14.2.10 Nกดกฟด Nกดกฟด Subnetwork Class B 141.14.2.0 141.14.2.110 To the rest of the Internet Site 141.14.0.0 Nกดกฟด Subnetwork Class B 141.14.4.0 141.14.4.110 141.14.4.10 141.14.4.12 141.14.4.130

  21. การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting) (cont.) • จากรูปเมือมีข้อมูลเข้ามาตัวเร้าเตอร์จะรู้ว่าจะต้องส่งไปเครือข่ายย่อยใดเพราะทั้งสองเครือข่ายยังสังกัดเครือข่ายเดียวกันคือ 141.14 • การแบ่งซับเน็ตออกเป็น 2 เครือข่ายดังนั้นเร้าเตอร์ก็จะใช้ 2 ออคเทตแรกเป็น NetIDออคเทตที่ 3 เป็น SubnetID (2) และออคเทตที่ 4 คือ HostID (21)

  22. ลำดับชั้น 3 ระดับ (Three Levels of Hierarchy) • เป็นการยืมบิตของ HostIDมาใช้เพื่อกำหนดซับเน็ต เราจะกำหนดไอพีออกเป็น 3 ระดับ • 1.NetIDระดับแรกที่ใช้ระบุไซต์ (Network) • 2.SubNetIDระดับที่สองใช้ระบุฟิสิคัลซับเน็ตเวิร์ก • 3. HostIDระดับที่สามเป็นการระบุการเชื่อมต่อของโฮสต์กับซับเน็ตเวิร์ก Without subnetting 141 . 14 . 2 . 21 141 . 14 . 2 . 21 NetID HostID With Subnetting 141 . 14 . 2 . 21 NetID SubNet HostID

  23. ซับเน็ตมาสก์ (Subnet Mask) • เป็นการทำควบคู่ไปกับการทำซับเน็ต • ซับเน็ตมาสก์หรือมาสกิ้ง (Masking)เป็นขบวนการที่บอกให้รู้ว่าเครือข่ายมีการแบ่งซับเน็ต • บิตที่ยืมไปทำการแบ่งซับเน็ตกีบิตและใช้ตำแหน่งใดเพื่อระบุเครือข่ายย่อย • ค่าดีฟอลต์ (Default)

  24. ซับเน็ตมาสก์ (Subnet Mask)(cont.) • การตั้งค่าให้กับซับเน็ตมาสก์นั้นค่าที่เป็น1 จะตรงกับหมายเลขเครือข่ายและเครือข่ายย่อย ค่าที่เป็น 0 จะตรงกับหมายเลขโฮสต์

  25. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช่คลาส(Classless Addressing) • เป็นการมุ่งเน้นไปที่ไอพีแอดเดรสที่จะนำมาใช้งานกับโฮสต์ได้จริงโดยจะไม่สนใจเรื่องคลาส จึงทำให้สามารถมีไอพีเหลือให้บริการลูกค้าอีกจำนวนมาก

  26. CIDR Notation(Classless Inter-Domain Routing) • CIDR (ไซเดอร์ CI-DER) ใช้สำหรับการทำมาสกิ้งด้วยสัญลักษณ์ / (Slash) แล้วตามด้วยขนาดของมาสก์ • ตัวอย่าง128.10.0.0 จะมี NetID 16 บิตแรก (Prefix) และ HostID 16 บิตหลัง(Suffix) ก็จะแทนด้วย 128.10.0.0/16

  27. การคำนวณหาแอดเดรสซับเน็ตการคำนวณหาแอดเดรสซับเน็ต • การคำนวณหาแอดเดรสซับเน็ตจะใช้ประโยชน์จากซับเน็ตมาสก์และไอพีแอดเดรส • การมาสก์แบบ Boundary-Level • เป็นการตั้งค่าซับเน็ตมาสก์ตามค่าดีฟอลต์ของแต่ละคลาสด้วยการกำหนดบิตเป็น 1 หรือ 0 ทั้งหมดในแต่ละออคเทต ค่าจะตรงกับเลขฐานสิบคือ 255 หรือ 0 เป็นวิธีที่คำนวณหาแอดเดรสซับเน็ตได้ง่าย

  28. การคำนวณหาแอดเดรสซับเน็ต (ต่อ) • การมาสก์แบบ Nonboundary-Level • เป็นการมาสก์ที่ไม่ได้กำหนดเป็น 255 หรือ 0 ถือว่าเป็นการกำหนดภายนอกขอบเขต เป็นการกำหนดแบบ Custom จะใช้ค่าซับเน็ตมาสก์เป็นตัวกำหนดจำนวนซับเน็ตและจำนวนโฮสต์ตามความเหมาะสม การหาแอดเดรสซับเน็ตด้วยการนำออคเทตมางมาสก์ไปเทียบบิตกับหมายเลขไอพีด้วยโอเปอเรชั่น And • ตัวอย่าง

  29. การคำนวณหาแอดเดรสซับเน็ต (ต่อ) • โอเปอเรชั่น AND • 0 and 0 = 0, 0 and 1 = 0, 1 and 0 = 0, 1 and 1 = 1 • ผลที่ได้คือ • 123 = 0 1 1 1 1 0 1 1 • 192 = 1 1 0 0 0 0 0 0 • 64 = 0 1 0 0 0 0 0 0 • ดังนั้นไอพีแอดเดรส 45.123.21.8 ที่มีค่ามาสก์เป็น 255.192.0.0 จะมีแอดเดรสซับเน็ตคือ 45.64.0.0 • โอเปอเรชั่น OR กับ bitwise not Mask ก็จะได้ Broadcast Address • Bitwise not เช่น 0011 ก็จะได้ 1100

  30. เครือข่ายไอพีภายใน (Private IP Network) • เราสามารถ Private IP นี้ได้โดยไม่ต้องจดทะเบียนกับทางบริษัทที่บริการอินเทอร์เน็ต • Loopback Address 127.0.0.1 ใช้สำหรับทดสอบหาข้อผิดพลาดจะส่งแพ็กเก็ตกลับมายังเครื่องตนเอง

  31. Network Address Translation(NAT) • เพื่อการทำมัลติเพล็กซ์จราจรเครือข่ายภายในให้สามารถออกไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ • เป็นโปรแกรมที่รันอยู่ในระบบหรือบรรจุอยู่ที่เร้าเตอร์ • ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนไอพีด้วย • จะดำเนินการแปลง (Mapping) ไปรเวตไอพีมาเป็นไอพีแอดเดรสจริงที่ได้รับการจดทะเบียน (Registered IP Address) เพื่อให้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้

  32. NAT แบบสเตติก (Static NAT) • เป็นการจับคู่ระหว่างไปรเวตไอพีกับไอพีแอดเดรสจริงแบบหนึ่งต่อหนึ่ง • ไม่ได้ช่วยประหยัดไอพี • ทำให้บุคคลภายนอกเข้าถึงเครือข่ายได้

  33. NAT แบบไดนามิก (Dynamic NAT) • เป็นการจับคู่ระหว่างไปรเวตไอพีกับไอพีแอดเดรสจริงแบบหมุ่นเวียนไม่ตายตัว • ไม่ได้ช่วยประหยัดไอพี • ทำให้บุคคลภายนอกไม่สามารถเข้าถึงเครือข่ายได้ • ไอพีจริงจะมีการกำหนดช่วงให้และหมุ่นเวียนไปเรือยๆภายในช่วงที่กำหนดไว้

  34. NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้ง (Overloading NAT) • เป็นการจับคู่ระหว่างไปรเวตไอพีกับไอพีแอดเดรสจริงแบบแปลงไอพีจริงเพียงหมายเลขเดียวเท่านั้นแต่จะมีหมายเลขพอร์ตที่แตกต่างกัน • ช่วยประหยัดไอพี • มีชื่อเรียกอีกแบบ เช่น Port Address Translation (PAT), Single Address NAT, Port-Level Multiplexed NAT

  35. NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้ง (Overlapping NAT) • เครือาข่ายภายในที่ได้นำไอพีแอดเดรสจริงมาใช้ซึ่งแอดเดรสดังกล่าวเป็นของเครือข่ายอื่นหรือกรณีที่ได้เปลียน ISP รายใหม่ ทำให้ได้หมายเลขใหม่แทนของเดิมที่ยกเลิกไป แต่ไม่ต้องคอนฟิกหมายเลขไอพีภายในเครือข่ายทั้งหมด • จะทำการแปลงไอพีจริงที่ไม่ใช่ของเรามาเป็นไอพีจริงที่เราได้จดทะเบียนไว้

  36. ไอพีเวอร์ชั่น 6(IPv6) • ปัจจุบันถือว่าเป็นมาตรฐานแล้ว • ยังคงสามารถทำงานร่วมกัน IPv4 ได้ • มีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดบางส่วนเช่น • มีการใช้ขนาดของแอดเดรสที่ใหญ่ขึ้น • รูปแบบของดาต้าแกรมเฮดเดอร์ได้มีการเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ทั้งหมด • ใช้เฮดเดอร์แบบ Fixed-Length ในการควบคุมข้อมูลเฮดเดอร์

  37. การกำหนดตำแหน่งที่อยู่ใน IPv6(IPv6 Addressing) • 1. ยูนิคาสต์ (Unicast) คือแอดเดรสที่ใช้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวจะส่งไปยังแอดเดรสปลายทางสำหรับเครื่องนั้นเพียงเครื่องเดียว • 2. มัลติคาสต์ (Multicast) คือแอดเดรสที่ใช้ติดต่อไปยังกลุ่มคอมพิวเตอร์จะส่งไปยังกลุ่มสมาชิก • 3. เอนนีคาสต์ (Anycast) คือแอดเดรสที่ใช้ติดต่อยังกลุ่มทีใช้ฟรีฟิกซ์เหมือนกันจะส่งมอบไปยังเครื่องที่อยู่ใกล้กับผู้ส่งมากที่สุด

  38. การแทนค่าไอพีแอดเดรสด้วยเลขฐานสิบหก(IPv6 Colon Hexadecimal Notation) • จะมีขนาด 128 บิต • แทนค่าแอดเดรสในรูปแบบเลขฐานสิบหก • แบ่งออกเป็น 8 กลุ่มแต่ละกลุ่มมี 16 บิตใช้เครื่องหมาย “:” (Colon)ในการแบ่งส่วนแต่ละกลุ่ม • เช่น 69DC:8864:FFFF:FFFF:0:1280:8C0A:FFFF • สามารถย่อได้ถ้ามี 0 นำหน้าสามารถตัดออกได้ หรือ 0 ติดกันเป็นชุดแทนด้วย “::” แต่จะใช้ได้เพียงครั้งเดียว

  39. การแทนค่าไอพีแอดเดรสด้วยเลขฐานสิบหก(IPv6 Colon Hexadecimal Notation)(cont.) • ตัวอย่าง • 69DC:0064:FFFF:FFFF:0000:1280:8C0A:000F • 69DC:64:FFFF:FFFF:0:1280:8C0A:F • ตัวอย่าง • FDEC:0:0:0:0:BBFF:0:FFF • FDEC::BBFF:0:FFF

  40. แบบฝึกหัด • 1. ให้ตอบคำถามในช่องที่ว่าง • 2. ให้ตอบคำถามในช่องที่ว่าง

  41. แบบฝึกหัด • 3. ให้ตอบคำถามในช่องที่ว่าง จากไอพีแอดเดรสที่กำหนดให้ต่อไปนี้จงระบุดค่าดีฟอลต์ซับเน็ตมาสก์

  42. แบบฝึกหัด • 4. จงอธิบายหลักการทำงานของ NAT โดยมีกี่แบบอะไรบ้าง

More Related