1 / 25

ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก

ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก. โรคไข้เลือดออก DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER ; DHF. เชื้อที่เป็นสาเหตุ : VIRUS DENGUE มี 4 SEROTYPES DEN-1 DEN-2 DEN-3 DEN-4. การติดต่อ. วงจรชีวิตของยุงลาย. ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก. ยุงลายบ้าน Aedes aegypti. ยุงลายสวน Aedes albopictus.

hedia
Download Presentation

ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก

  2. โรคไข้เลือดออกDENGUE HAEMORRHAGIC FEVER ; DHF เชื้อที่เป็นสาเหตุ : VIRUS DENGUE มี 4 SEROTYPES • DEN-1 • DEN-2 • DEN-3 • DEN-4

  3. การติดต่อ

  4. วงจรชีวิตของยุงลาย

  5. ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออกยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก ยุงลายบ้าน Aedes aegypti ยุงลายสวน Aedes albopictus

  6. ออกหากินในเวลากลางวัน 8.00-17.00 น. หากินไม่ไกลจากแหล่งเพาะพันธุ์ บินไปไม่เกิน 50 เมตร ชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนต่างๆ ยุงลายตัวเมียกินเลือดประมาณ 3-4 วัน/ครั้ง หลังกินเลือด 2-3 วัน วางไข่ ชอบวางไข่ในตอนบ่ายๆ ไม่ชอบแสงและลมแรง ยุงลายบ้านชอบกัดคนในบ้าน ยุงลายสวนชอบกินเลือดสัตว์ และคนนอกบ้าน มีอายุประมาณ 1-2 เดือน ชีวนิสัยของยุงลาย

  7. น้ำสะอาด น้ำสกปรก ยุงลายบ้านร้อยละ 49 - 97 วางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำสะอาด ยุงลายชอบวางไข่ที่ใด

  8. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  9. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  10. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  11. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  12. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  13. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  14. การระบาดของโรคขึ้นอยู่กับองค์ประกอบการระบาดของโรคขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 1. คน ได้แก่ กลุ่มอายุ ภูมิคุ้มกันโรค และการได้รับเชื้อ ในอดีต 2. ชนิดชองเชื้อเดงกี่ไวรัสที่ระบาดในพื้นที่นั้น ในปีนั้น ในขณะนั้น 3. องค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ ความชุกชุมของยุงลาย การเดินทาง การเคลื่อนย้ายของ ปชก. ความหนาแน่นของชุมชน

  15. ม. A ม. B การแพร่ของโรคไข้เลือดออก • ยุงลายบินระยะใกล้ประมาณ 100-200 เมตร • คนที่มีเชื้อเดงกี่ไวรัสเข้าไปในพื้นที่ที่มีพาหะของโรค

  16. สถานการณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2501 - 2546 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ปี 2530 ระบาดรุนแรง (325) ปี 2521 ระบาดทุกอำเภอ ระบาดครั้งแรก ใน กทม. ปี พ.ศ. 25....

  17. การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก มี 4 วิธี • การเฝ้าระวังผู้ป่วย • การเฝ้าระวัง Antibody ของประชาชน • การเฝ้าระวังความชุกชุมของยุงลาย (พาหะของโรค) • การเฝ้าระวังชนิดของ Dengue type

  18. การสอบสวนโรค • จะไม่สอบสวนทุกราย • สอบสวนผู้ป่วยรายแรกของพื้นที่

  19. การกำจัดหรือควบคุมลูกน้ำยุงลายการกำจัดหรือควบคุมลูกน้ำยุงลาย • การกำจัดทางกายภาพ • การกำจัดทางชีววิทยา • การกำจัดด้วยสารเคมี

  20. ขั้นตอนในการพยากรณ์โรคขั้นตอนในการพยากรณ์โรค • การพยากรณ์การระบาดในระยะไกล ต้องใช้ข้อมูลเฝ้าระวังโรคในระดับจังหวัด อย่างน้อย 8-10 ปี วิเคราะห์การระบาด • การพยากรณ์ระยะใกล้ ถ้าพบว่าเดือน ม.ค. – เม.ย. มีผู้ป่วยมากกว่าค่ามัธยฐาน 5-7 ปี แสดงว่าการระบาดจะรุนแรง ระยะนี้มีเวลาพอที่จะกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ได้ทันก่อนฤดูฝน

  21. ขั้นตอนในการป้องกันโรคขั้นตอนในการป้องกันโรค • หลังจากพยากรณ์การระบาดและเลือกพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดรุนแรง ในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัดแล้ว ออกไปกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ เพื่อลดจำนวนลูกน้ำยุงลายให้ต่ำสุดก่อนฤดูฝน • ทำการเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เมื่อพบผู้ป่วยจะต้องรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและออกไปกำจัดตัวแก่ทันที ตามด้วยการกำจัดลูกน้ำในช่วงเวลาเดียวกัน

  22. ขั้นตอนในการควบคุมโรคขั้นตอนในการควบคุมโรค 1. เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เมื่อพบ Pt.ต้องรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ภายใน 24 ชม. แล้วออกไปกำจัดตัวแก่ทันทีในบ้านและรอบบ้านผู้ป่วย รัศมี 50-100 ม. ถ้าชุมชนหนาแน่นต้องพ่นยาให้กว้าง ถ้าชุมชนกระจาย ไม่ต้องพ่นยาให้กว้าง (ขึ้นอยู่กับสถานที่) ตามด้วยการกำจัดลูกน้ำยุงลาย 2. ควรทำแผนที่บ้านผู้ป่วยในระดับหมู่บ้าน คอยติดตามอย่างใกล้ชิด และสม่ำเสมอ

  23. แนวทางในการเลือกหมู่บ้านเสี่ยงสูงแนวทางในการเลือกหมู่บ้านเสี่ยงสูง • หมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรค แต่อยู่ใกล้พื้นที่เคยเกิดโรคเมื่อ 1-3 ปีที่ผ่านมา • หมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรค และเป็นชุมชนหนาแน่น • หมู่บ้านที่มีการคมนาคมจากชุมชนใหญ่สะดวก และพื้นที่ที่มีการไปมาหาสู่กันเสมอ • หมู่บ้านที่มีความชุกชุมยุงลายสูง • หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยหรือมีการระบาดในปีก่อน หรือหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยไม่ติดต่อกัน 3 ปี

  24. องค์ประกอบอื่น ที่ช่วยในการควบคุมไข้เลือดออก • วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ ต้องเพียงพอ • สารเคมี ต้องมีคุณภาพ เครื่องพ่นยุงลาย ต้องดี • การกำจัดยุงลายพาหะและลูกน้ำ ต้องทำทุก หมู่บ้าน ทุกภาชนะ ทำอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ทุก 7 วัน • ได้รับความร่วมมือจากประชาชน

  25. ๑ ๑ ๑ ๑ ดัชนีความชุกของลูกน้ำ 1 2 3 4 บ้าน (4) บ้านมีลูกน้ำ (3) HI BI ภาชนะมีน้ำ (10) ภาชนะมีลูกน้ำ (5) CI HI = 3 X 100 = 75 % 4 CI = 5x 100 = 50 % 10 BI = 5X 100 = 125 4

More Related