400 likes | 1.66k Views
หัวหน้าพาทำคุณภาพ. สิ่งที่คาดหวัง. ได้เรียนรู้แนวคิดเรื่องคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพที่ใกล้กับชีวิตการทำงานปกติประจำมากที่สุด เริ่มต้นลงมือพัฒนาคุณภาพในสิ่งที่สามารถทำได้ง่ายๆ แต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิธีการทำงานซึ่งทุกคนสัมผัสได้. หัวใจสำคัญ.
E N D
สิ่งที่คาดหวัง • ได้เรียนรู้แนวคิดเรื่องคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพที่ใกล้กับชีวิตการทำงานปกติประจำมากที่สุด • เริ่มต้นลงมือพัฒนาคุณภาพในสิ่งที่สามารถทำได้ง่ายๆ แต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิธีการทำงานซึ่งทุกคนสัมผัสได้
หัวใจสำคัญ • หัวหน้าหน่วยงาน = ผู้อำนวยความสะดวก(facilitator) • ทำความเข้าใจกับสมาชิกทุกคนว่าเป้าหมายของกิจกรรมที่จะทำกันคืออะไร • เปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่และเท่าเทียมกัน • สรุปความเห็นของสมาชิกเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งขึ้น และมีแนวทางการทำงานที่ชัดเจน • คุย คิด ทำ > เขียน
กิจกรรม • ทบทวนความสำเร็จและความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนแปลง • เชื่อมโยงความสำเร็จและสร้างบรรยากาศที่ดี • คุณภาพเริ่มที่แต่ละคน • คุณภาพคือการทำให้งานของเราง่ายขึ้น
กิจกรรม • คุณภาพคือการพึ่งพิงกันและกัน • คุณภาพคือการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ • คุณภาพคือการทำหน้าที่ตามเป้าหมายอย่างสมบูรณ์ • สรุปแผนดำเนินงานพัฒนาคุณภาพในระดับหน่วยงาน
สัปดาห์ที่ 1 - วัตถุประสงค์ • ตระหนักในความสำเร็จและจุดแข็ง • ตระหนักในความจำเป็นที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง • มีทักษะในการทำงานเป็นทีมที่จำเป็น ทบทวนความสำเร็จและความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนแปลง
สัปดาห์ที่ 1 - วิธีการ • ผลงานซึ่งเป็นความสำเร็จที่น่าภาคภูมิใจ (เขียน 1 ความคิดบนบัตร) • จุดแข็งของหน่วยงาน (อ่านให้เลขาจดบน flip chart) • เหตุผลที่ต้องปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพ (เขียนบัตรละ 1 ความคิดให้มากที่สุด, จัดกลุ่มความคิดโดยไม่ต้องปรึกษา/อภิปราย ตั้งชื่อทีหลัง, ให้คะแนนความสำคัญ) • สรุปกฎกติกามารยาท (ไม่วิพากษ์วิจารณ์ เท่าเทียม เน้นจำนวน)
สัปดาห์ที่ 2 - วัตถุประสงค์ • สามารถเชื่อมต่อความสำเร็จหรือความพยายามในการพัฒนาที่ได้ทำมา กับที่จะทำต่อไป • ร่วมกันส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศที่กระตุ้นให้เกิดความตื่นตัว และกระตือรือร้น เชื่อมโยงความสำเร็จและสร้างบรรยากาศที่ดี
Quality Improvement Process 5S QC, QA TQM/CQI Reengineer OD, ESB ISO Think Assess Do Improve Mind Learn Learn Maintain Human Development System Development
สัปดาห์ที่ 2 - วิธีการ • ศึกษาตัวอย่างในตารางวิเคราะห์เพื่อเชื่อมต่อกิจกรรม • เลือกกิจกรรมที่เคยมีประสบการณ์ • วิเคราะห์จุดเด่นและปัญหาเพิ่มเติม • วางแผนเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่จะทำต่อไป • ระดมสมองในประเด็น บรรยากาศที่กระตุ้นให้เกิดความตื่นตัว และกระตือรือร้นซึ่งมีอยู่หรือเคยมี, พิจารณาผู้รับผิดชอบ
สัปดาห์ที่ 3 - วัตถุประสงค์ • เข้าใจ แนวคิดพื้นฐานว่าคุณภาพต้องเริ่มจากตัวเราแต่ละคน • ร่วมกันส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศที่กระตุ้นให้เกิดความตื่นตัว และกระตือรือร้น คุณภาพเริ่มที่แต่ละคน
สัปดาห์ที่ 3 - วิธีการ • วิเคราะห์งานของแต่ละคน • แต่ละวันทำงานอะไรบ้าง • งานนั้นมีเป้าหมายหรือคุณค่าอะไร • จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร • แยกแยะ • เรื่องที่ควรปรับปรุงร่วมกัน • เรื่องที่แต่ละคนต้องรับผิดชอบปรับปรุงตัวเอง • หัวหน้าให้การสนับสนุนเพื่อเปลี่ยนแปลง
สัปดาห์ที่ 4 - วัตถุประสงค์ • เข้าใจแนวคิดพื้นฐานว่าคุณภาพควรควบคู่ไปกับความเรียบง่าย • สามารถวิเคราะห์งานในความรับผิดชอบของตนเองว่าจะทำให้ง่ายขึ้นได้อย่างไร คุณภาพคือการทำให้งานของเราง่ายขึ้น
ตารางจำแนกลักษณะและระดับของโอกาสพัฒนาตารางจำแนกลักษณะและระดับของโอกาสพัฒนา
สัปดาห์ที่ 5 - วัตถุประสงค์ • เข้าใจแนวคิดพื้นฐานว่า คุณภาพคือการตอบสนองความต้องการของผู้รับผลงาน โดยเริ่มต้นจากผู้รับผลงานภายใน • สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผู้รับผลงานภายในที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานของตนได้ คุณภาพคือการพึ่งพิงกันและกัน
สัปดาห์ที่ 6 - วัตถุประสงค์ • เข้าใจแนวคิดพื้นฐานว่า คุณภาพคือการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ • สามารถวิเคราะห์ความต้องการและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ คุณภาพคือการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
สัปดาห์ที่ 7 - วัตถุประสงค์ • เข้าใจแนวคิดพื้นฐานว่า การพัฒนาคุณภาพต้องเป็นไปเพื่อบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน • สามารถกำหนดความมุ่งหมาย เครื่องชี้วัด ของหน่วยงานได้ คุณภาพคือการทำหน้าที่ตามเป้าหมายอย่างสมบูรณ์
สัปดาห์ที่ 8 - วัตถุประสงค์ • เพื่อให้สมาชิกในหน่วยงานทบทวนว่าจะนำโอกาสพัฒนาที่ได้มาดำเนินการต่อไปอย่างไร โดยพิจารณาในภาพรวมของหน่วยงาน สรุปแผนดำเนินงานพัฒนาคุณภาพในระดับหน่วยงาน
ตารางจำแนกลักษณะและระดับของโอกาสพัฒนาตารางจำแนกลักษณะและระดับของโอกาสพัฒนา
ผลกิจกรรมหัวหน้าพาทำคุณภาพ สู่ Unit Peofile