1 / 10

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ. โดย อ.รัตนสุดา ไชยเชษฐ์. หลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ. การวิเคราะห์เชิงปริมาตร การวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการดูดกลืนแสง การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า. การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ. ใช้หลักการวิเคราะห์เชิงปริมาตร

Download Presentation

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ โดย อ.รัตนสุดา ไชยเชษฐ์

  2. หลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำหลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ • การวิเคราะห์เชิงปริมาตร • การวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการดูดกลืนแสง • การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า

  3. การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำการวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ • ใช้หลักการวิเคราะห์เชิงปริมาตร • ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่มีชื่อเรียกว่า Winkler method • หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ในหน่วย มิลลิกรัม/ลิตร (ppm)

  4. หลักการ • น้ำที่เก็บมาจากแหล่งน้ำ ปริมาณออกซิเจนมีความแปรปรวนตามระยะเวลา เพราะออกซิเจนจะถูกสิ่งมีชีวิตในน้ำนำไปใช้ • การตรึงออกซิเจน (สีน้ำตาล) Mn2+ + 2OH- + O2MnO2 + H2O (สีขาว) Mn2+ + 2OH-Mn(OH)2

  5. MnO2 + 2I- + 4H+ Mn2+ + I2+ 2H2O I2 + starch-I2 + 2Na2S2O3.H2O Na2S + O6 + 2NaI + 10H2O + แป้ง

  6. วิธีการวิเคราะห์ • เก็บตัวอย่างน้ำด้วยขวด BOD แล้วเติมสารละลายแมงกานัสซัลเฟต 2 มล. และสารละลายอัลคาไล-ไอโอไดด์-เอไซด์ 1 มล. ปิดฝาขวด BOD แล้วพลิกกลับไปมาประมาณ 20 ครั้ง • เติมกรดซัลฟิวริก 2 มล. ลงในตัวอย่างน้ำ พลิกขวดกลับไปมาเพื่อละลายตะกอน • ตวงตัวอย่างน้ำจากข้อ 2 ปริมาตร 101 มล. ใส่ในขวดรูปชมพู่ แล้วนำมาไทเทรตกับสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต

  7. เมื่อตัวอย่างน้ำมีสีจางลง เติมน้ำแป้งสุก 4 – 5 หยด แล้วไทเทรตต่อจนกระทั่งสารละลายเปลี่ยนสีจากสีน้ำเงินเป็นไม่มีสี • บันทึกปริมาตรของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต และคำนวณหาปริมาณออกซิเจน

  8. การคำนวณ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) (mg/l) = (V1) (N) (8) (1,000) V2 V1 หมายถึง ปริมาตรของโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต (มล.) V2 หมายถึง ปริมาตรตัวอย่างน้ำ ( 100 มล.) N หมายถึง ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต

  9. การเทียบสารละลายมาตรฐานการเทียบสารละลายมาตรฐาน • นำสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 100 มล.ใส่ในขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 มล. เติมกรดซัลฟิวริก 10% ปริมาณ 10 มล. และเติมสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต 0.025 Nปริมาตร 10 มล. แล้วนำมาไทเทรตกับโซเดียมไทโอซัลเฟต จนกระทั่งสีของสารละลายอ่อนลง จึงเติมน้ำแป้งสุก 4 – 5 หยด แล้วไทเทรตจนกระทั่งสีน้ำเงินหายไป บันทึกปริมาตรโซเดียมไทโอซัลเฟต และคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต

  10. ผลการเทียบสารละลายมาตรฐานผลการเทียบสารละลายมาตรฐาน • N2 หมายถึง ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไดโครเมต (0.025 N) • V2 หมายถึง ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไดโครเมต ( 10 ml) • V1 หมายถึง ปริมาตรของโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต (ml) = ……………………. • N1 หมายถึง ความเข้มข้นของโซเดียมไทโอซัลเฟต (N) = …………………………….

More Related