1 / 30

การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ บทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบ

การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ บทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบ. บังอร ฤทธิภักดี ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 29 มีนาคม 2550. นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2529-2549). 2530 ห้ามโฆษณาบุหรี่ทุกรูปแบบ (อิงตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค)

heath
Download Presentation

การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ บทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะบทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะบทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบ บังอร ฤทธิภักดี ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่29 มีนาคม 2550

  2. นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2529-2549) • 2530 ห้ามโฆษณาบุหรี่ทุกรูปแบบ (อิงตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค) • 2532 เปิดตลาดบุหรี่นอก • 2532 ตั้งคณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ • 2535 พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ • 2535 พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ • 2536-2548 การพิมพ์คำเตือนที่ใหญ่ขึ้น

  3. นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2529-2549) • 2536-2549 สถานที่สาธารณะต่างๆ เป็นเขตปลอดบุหรี่ • 2536-2549 ขึ้นภาษีบุหรี่ • 2544 2% จากภาษีบุหรี่และเหล้าสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ • 2548 พิมพ์คำเตือนเป็นรูปภาพ • 2548 ห้ามโชว์ซองบุหรี่ ณ จุดขาย

  4. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนนโยบายปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนนโยบาย การเมือง กระแสสังคม • องค์ความรู้ • แนวร่วม ทีมและ ยุทธศาสตร์

  5. กรณีศึกษา (1) เรื่องการขึ้นภาษีบุหรี่ • ฝ่ายสาธารณสุขเสนอให้รัฐบาลขึ้นภาษีบุหรี่ตั้งแต่ปี 2529.....แต่ไม่มีเสียงขานรับ • 2536 ตั้งขบวน

  6. ทีม • ฝ่ายรัฐ • ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ • พ.ญ.วราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์ • ฝ่ายวิชาการ • นพ.สุภกร บัวสาย • ผู้เชี่ยวชาญองค์การอนามัยโลก • ฝ่ายองค์กรเอกชน • ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ • บังอร ฤทธิภักดี

  7. โจทย์คืออะไร • เราต้องการอะไร..ขึ้นภาษี...ขึ้นเท่าไหร่ • ใครจะทำเป้าหมายให้เป็นจริง.....คณะรัฐมนตรี • ใคร(มีแนวโน้ม)เห็นด้วย...ใคร (มีแนวโน้ม) คัดค้าน • รัฐไม่ให้ความสำคัญกับนโยบายภาษีบุหรี่เพราะอะไร • อะไรคือข้อกังขา/ข้อโต้แย้ง • ข้อมูลอะไรที่จำเป็นต่อการผลักนโยบายนี้ • ใครคือแนวร่วม...

  8. 1. สกัดข้อมูลและองค์ความรู้ • รวบรวมและศึกษาข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทเรียนจากต่างประเทศ และข้อเสนอแนะจากองค์การอนามัยโลก และธนาคารโลก • ขอความช่วยเหลือด้านวิชาการจากองค์การอนามัยโลก • วิเคราะห์ข้อโต้แย้ง (Arguments) ของฝ่ายการเมืองและหาคำตอบ • จัดทำ Policy Paper ขึ้นเท่าไหร่..เพื่อเสนอ ครม.

  9. ขึ้นภาษีบุหรี่ 10 % จะมีผลดีอย่างไร • การสูบบุหรี่ในเยาวชนจะลดลง 10%, • สามารถป้องกันเด็กอายุ 15-19 จากการเริ่มสูบบุหรี่ได้ 75 400 คน • ป้องกันไม่ให้ 9,425 คนตายจากการสูบบุหรี่

  10. ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหากขึ้นภาษีบุหรี่ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหากขึ้นภาษีบุหรี่ Year 1992 1993--1934 ภาษี(%) 55 61 63 ยอดขาย(ล้านซอง) 1983 2,094 2,094 รายรับจากภาษี(ล้านบาท) 15,346 19,000 21,400 (หากไม่ขึ้นภาษี) (17,000) (17,000) จำนวนเด็กสูบบุหรี่ที่ลดลง 200,000 300,000

  11. คำนวณราคาจริงของบุหรี่ (Real Price) เทียบตามค่าแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้น 2525 2528 2535 ค่าแรงขั้นต่ำ(บาท/วัน) 46 54 128 ราคาขายปลีก (บาท/ซอง) 12 13 15 ราคาจริง ที่ควรจะเป็น (บาท/ซอง) 12 14 33

  12. เตรียมข้อมูลตอบทุกข้อโต้แย้งเตรียมข้อมูลตอบทุกข้อโต้แย้ง • ขึ้นภาษีบุหรี่แล้วทำให้บุหรี่เถื่อนเพิ่มขึ้น • ขึ้นภาษีบุหรี่แล้วจะทำให้รัฐเสียรายได้ • ขึ้นภาษีแล้วจะทำให้ชาวไร่ยาสูบและคนงานโรงงานยาสูบตกงาน • ขึ้นภาษีเป็นการทำร้ายคนจน

  13. ข้อกังวลสำคัญของนักการเมืองข้อกังวลสำคัญของนักการเมือง • กำหนดนโยบายนี้แล้วทำให้คะแนนเสียงลดลง

  14. 2. การระดมกระแสสังคม การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน • 80% ของผู้ไม่สูบบุหรี่ • 65% ของผู้สูบบุหรี่ • โดยภาพรวม 70% สนับสนุนการขึ้นภาษีบุหรี่

  15. 3. ระดมแนวร่วม • ใครคือแนวร่วม • คอลัมนิสต์ที่เสียงดัง • ผู้เชียวชาญจากต่างประเทศ • (นักเศรษฐศาสตร์) • ให้ข้อมูลแก่แนวร่วม และขอแรงสนับสนุน

  16. 4. การสื่อสาร(Advocate)กับฝ่ายการเมือง • ใครคือผู้สื่อสารกับ ครม...รมว.สาธารณสุข • ให้ข้อมูลแก่ รมว.ให้ชัดเจน • อาศัยตัวช่วยต่างๆ ในการสื่อสารกับฝ่ายการเมือง • ความสัมพันธ์ส่วนตัว • ให้ผู้เชียวชาญจากต่างๆประเทศช่วยพูด • เตรียมผู้ให้ข้อมูลให้พร้อมในการที่ ครม.

  17. สาระสำคัญในการสื่อสารกับภาคการเมืองสาระสำคัญในการสื่อสารกับภาคการเมือง • นโยบายนี้ประชาชนส่วนใหญ่สนับสนุน • รัฐบาลมีแต่ได้กับได้ • ยอดขายคงที่หรือชะลอตัว...ดีต่อสุขภาพของประชาชน • รายได้รัฐเพิ่มขึ้น...ดีต่อการคลัง • หากรัฐบาลไม่ขึ้น คนสูบบุหรี่ไม่ลด แต่รายได้รัฐไม่เพิ่ม • ปัญหาบุหรี่เถื่อนจัดการได้ด้วยวิธีอื่น แต่ไม่ใช่การเก็บภาษีต่ำ

  18. มติ ครม. 2536 • เพิ่มภาษีสรรพสามิตบุหรี่จาก 55% เป็น 60% • ให้มีการขึ้นภาษีเป็นระยะๆ ตามอัตราเงินเฟ้อ ราคาบุหรี่เพิ่มจากซองละ 15 บาท เป็น 18 บาท

  19. ผลจากการขึ้นภาษีต่อยอดขายและรายรับผลจากการขึ้นภาษีต่อยอดขายและรายรับ พ.ศ. 2536 2537 ภาษี (%) 55 60 ยอดขาย (ล้านซอง) 2,135 2,328 รายรับ (ล้านบาท) 15,345 20,002 (19,000)

  20. Excise tax, cigarette sales and tax revenue Year Tax Sales Tax revenue (%) (million Pack) (million ofBaht) • 1992 55 2035 15,438 • 1993 55 2135 15,345 • 1994 60 2328 20,002 • 1995 62 2171 20,736 • 1996 68 2463 24,092 • 1997 68 2415 29,755 • 1999 70 1810 26,708 • 2000 71.5 1826 28,110 • 2001 75 1727 29,627 • 2002 75 1716 31,247 • 2003 75 1904 33,582 • 2004 75 2110 36,326 • 2005 75 2187 39,690 • 2006 79 1793 35,646 Source: the Excise Department, Ministry of Finance .Thailand

  21. กรณีศึกษา (2) พรบ.ยาสูบ พ.ศ.2535 โจทย์: ผลัก ร่าง พรบ.ยาสูบ ทั้งสองฉบับ ให้ผ่านสภา หากพิจารณาไม่เสร็จในสภา รสช.กฎหมายจะตกไป และอาจจะทำให้ทำงานยากขึ้นในสภาหน้า

  22. สถานการณ์ • สภารับหลักการร่างกฎหมายยาสูบ วาระที่ 1 ตั้งกรรมาธิการสาธารณสุขพิจารณา วาระที่ 2 • พลเอกสุนทร และคนอื่นๆ ขอแปรญัตติตัดมาตรา 11 ออก • ร่าง พรบ.ยาสูบ ถูกเลื่อนหลายครั้งระหว่างการเข้าคิวรอเข้าสู่ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วาระที่ 3

  23. ยุทธศาสตร์ของธุรกิจยาสูบยุทธศาสตร์ของธุรกิจยาสูบ 1.วิ่งเต้นแก้หรือตัดเนื้อหามาตรา 11 ของ พรบ.ยาสูบที่ครม. 2.วิ่งเต้นให้มีการแปรญัตติให้กฎหมายเข้มข้นน้อยลง (ผ่านสมาชิกสภาฯ) 3.ถ่วงเวลาให้กระบวนการพิจารณากฎหมายล่าช้า ไม่ให้ผ่านสภานิติบัญญัติ เพื่อให้กฎหมายตกไป • จุดแข็งของบริษัทบุหรี่คือการวิ่งเต้นในที่ลับ

  24. แนวร่วมของธุรกิจยาสูบต่างประเทศแนวร่วมของธุรกิจยาสูบต่างประเทศ 1.รัฐมนตรีที่เห็นใจ บ.บุหรี่ 2.สมาชิกสภานิติบัญญัติที่เห็นใจ บ.บุหรี่ 3.คอลัมนิสต์บางคน

  25. Political mapping • ฝ่ายที่สนับสนุน • ฝ่ายที่คัดค้าน • วางยุทธศาสตร์ในการล็อบบี้ฝ่ายสนับสนุน • วางยุทธศาสตร์ในการเปิดโปงฝ่ายคัดค้าน

  26. เป้าหมายในการล็อบบี้ พรบ.ยาสูบ • คณะกรรมการกฤษฎีกา • ครม.รัฐบาลอานัน • ประธานสภานิติบัญญัติ • กรรมาธิการสาธารณสุข สภานิติฯ • คอลัมนิสต์ • รองประธาน รสช.

  27. พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส • วิกฤติ: สมาชิกสภานิติบัญญัติแอบพาผู้จัดการฟิลลิป มอริสเข้าห้องกรรมาธิการขณะพิจารณาร่าง พรบ. • ประธานเชิญให้ออกจากห้องประชุม เป็นข่าวใหญ่หน้า 1 ในวันถัดมา • กลุ่มรณรงค์ย้ำกฎหมายอาจถูกบริษัทบุหรี่คว่ำ กระตุ้นรัฐสภาอย่ายอม • กลุ่มรณรงค์พาเด็กเยาวชนมอบดอกไม้ให้ประธานสภาฯ วันที่กฎหมายยาสูบเข้าสภาฯ

  28. ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการผลักดันกฎหมายบุหรี่ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการผลักดันกฎหมายบุหรี่ • สังคมมีภูมิจากความตื่นตัวถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่ • ปี 2530 การวิ่งรณรงค์ • 2531-2533 การคัดค้านรัฐบาลสหรัฐ • 2530-2535 การรณรงค์อย่างต่อเนื่องของทั้งภาครัฐและเอกชน • มีทีมงานที่ทำการบ้านเรื่องนี้โดยเฉพาะ • การสามารถเข้าถึงผู้มีอำนาจตัดสินใจในรัฐบาล /สภานิติบัญญัติฯ • สื่อมวลชนร่วมมือกันสนับสนุนกฎหมายบุหรี่ • การสามารถเปิดโปงนักการเมือง สมาชิกสภาฯที่สนับสนุนบริษัทบุหรี่ • การดึงความขัดแย้งสู่ที่สาธารณะ

  29. ผลของนโยบายควบคุมยาสูบจนปัจจุบันผลของนโยบายควบคุมยาสูบจนปัจจุบัน 1.จำนวนคนสูบบุหรี่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น 4 ล้านคน มีคนที่เลิกสูบบุหรี่ 2 ล้านกว่าคน เด็กที่รอดพ้นจากการเสพติดบุหรี่ 1 ล้านกว่าคน 2.รัฐบาลเก็บภาษีสรรพสามิตบุหรี่เพิ่มขึ้นได้นับแสนล้านบาท 3.ผู้ไม่สูบบุหรี่ได้รับการคุ้มครองไม่ต้องรับควันบุหรี่มือสอง 4.เปลี่ยนค่านิยมของการสูบบุหรี่ในสังคมไทย

  30. ภาพคำเตือน การห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ การรณรงค์ การขึ้นภาษี การห้ามโฆษณา ผลกระทบของนโยบายควบคุมยาสูบ (พ.ศ.2534-2549)ผู้สูบบุหรี่ลดลงกว่าที่ควรจะเป็น 4 ล้านคน เป็นผลจาก Ref: David Levy et al, The Role of Tobacco Control Policies in Reducing Smoking and Deaths Caused by Smoking in Thailand: Results from the Thailand SimSmoke Simulation Model,SEATCA and TRC, 2006

More Related