170 likes | 501 Views
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์ แรงงาน. รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552. เหตุใดหน่วยผลิต (firm) จึงต้องการจ้างแรงงาน?. เพราะมีความต้องการสินค้าบริการจากผู้บริโภค หน่วยผลิตทำหน้าที่เป็นตัวกลาง อุปสงค์ ต่อแรงงาน เป็น อุปสงค์ ต่อเนื่อง ‘ derived demand’
E N D
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552
เหตุใดหน่วยผลิต (firm)จึงต้องการจ้างแรงงาน? • เพราะมีความต้องการสินค้าบริการจากผู้บริโภค • หน่วยผลิตทำหน้าที่เป็นตัวกลาง • อุปสงค์ต่อแรงงาน เป็น อุปสงค์ต่อเนื่อง ‘derived demand’ • แรงงานต่างจากปัจจัยการผลิตอื่นๆ เพราะ.... • สภาพการทำงาน • สภาพสังคม โอกาสอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นระหว่างทำงาน • ลักษณะอื่นๆของหน่วยผลิต เช่น ชื่อเสียง เกียรติยศ
หน่วยผลิตตัดสินใจอย่างไร?หน่วยผลิตตัดสินใจอย่างไร? • ฟังชั่นการผลิตProduction function: • ปัจจัยการผลิต: แรงงานLabour (E)และ ทุนcapital (K) • Q = f (E,K) • สมมติว่าแรงงานเหมือนกันทุกประการhomogeneous • พิจารณาเฉพาะจำนวนคนงาน (ไม่ใช่จำนวนชั่วโมง) • Total product, marginal product, and average product • Marginal product of labour (MPE) • การเปลี่ยนแปลงในผลผลิต อันเกิดจากการจ้างแรงงานเพิ่มหนึ่งคน โดยปัจจัยการผลิตอื่นๆอยู่คงที่
MP ของแรงงานคือ ความชันของเส้น total product • อัตราการเปลี่ยนในผลผลิต เมื่อคนงานถูกจ้างเข้ามาเพิ่มขึ้น • ในระยะแรกผลผลิตจะขยายตัวด้วยอัตราที่เพิ่มขึ้นเพราะ ..... • แต่ในที่สุด ผลผลิตจะขยายตัวในอัตราที่ลดลง เพราะ • กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิต Law of diminishing returns • Average product of labour (AP) • ปริมาณผลผลิตที่คนงานทำได้ • ความสัมพันธ์ระหว่างเส้น • marginal productและ • average product
การแสวงหากำไรสูงสุดProfit maximization • กำไร= PQ – WE – rK • p = ราคาผลผลิต w = อัตราค่าจ้าง r = ราคาของสินค้าทุน • สมมติว่าหน่วยผลิตเป็นส่วนย่อยของอุตสาหกรรมนั้น • ราคาทุกอย่างอยู่นอกเหนือการควบคุม • ‘หน่วยผลิตที่อยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์’ แสวงหากำไรสูงสุดโดย • จ้างแรงงาน และ • สินค้าทุน • ในจำนวนที่เหมาะสม
การตัดสินใจจ้างงานในระยะสั้นการตัดสินใจจ้างงานในระยะสั้น • ระยะสั้นหมายถึง • ไม่สามารถเพิ่ม / ลดขนาดของโรงงานได้ • ไม่สามารถซื้อ/ขายอุปกรณ์เครื่องจักรได้ • สินค้าทุนมีปริมาณคงที่ • หน่วยผลิตจะพิจารณา เส้น MPที่เป็นอยู่
มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายvalue ofmarginal product (VMP) • มูลค่าตัวเงินของสิ่งที่คนงานหน่วยเพิ่มผลิตได้ • VMPE = p x MPE • Law of diminishing returns • ผลประโยชน์ต่อหน่วยผลิตจากการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ • แต่ในที่สุด ก็จะลดลง
มูลค่าของผลผลิตเฉลี่ยValue of average product • Monetary value of output per worker • VAPE = p x APE • หน่วยผลิตควรจ้างคนงานจำนวนเท่าไร? • จ้างไปเรื่อยๆ จนถึงจุดที่ • อัตราค่าจ้าง = มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน • wage rate = value of marginal product of labour
เส้นอุปสงค์ในระยะสั้นของหน่วยผลิตเส้นอุปสงค์ในระยะสั้นของหน่วยผลิต • เกิดอะไรขึ้นกับการจ้างงานของหน่วยผลิต เมื่อ ค่าจ้างเปลี่ยนไป โดยที่ทุนอยู่คงที่ • เส้นอุปสงค์แรงงาน ขึ้นอยู่กับ มูลค่าของ เส้น marginal product • เมื่อค่าจ้างลดลง หน่วยผลิตจะจ้างคนงานมากขึ้น • สำหรับแต่ละหน่วยผลิต เป็นเพียงรายเล็กๆ ในตลาด ราคาของผลผลิตจึงถูกกำหนดโดยตลาด • หน่วยผลิตไม่สามารถมีอิทธิพลต่อราคาผลผลิตได้
เส้นอุปสงค์แรงงานของอุตสาหกรรม (industry) • อุตสาหกรรม Industryคือ กลุ่มของหน่วยผลิตที่ผลิตสินค้าประเภทเดียวกัน • ถ้าหากทุกหน่วยผลิตจ้างคนงานเพิ่ม เมื่อค่าจ้างลดลง • ผลผลิตรวมของอุตสาหกรรมนั้นก็จะขยายออกไปมาก ราคาผลผลิตลดลง • ถ้าหน่วยผลิตทั้งหมดเพิ่มการจ้างงาน • มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายก็จะลดลงด้วย เส้นอุปสงค์แรงงานเคลื่อนไปทางซ้ายมือ