1 / 59

องค์กรแห่งการเรียนรู้กรมสุขภาพจิต : แนวคิดสู่การปฏิบัติจากแผน 10 สู่แผน 11 โดย

องค์กรแห่งการเรียนรู้กรมสุขภาพจิต : แนวคิดสู่การปฏิบัติจากแผน 10 สู่แผน 11 โดย นายแพทย์ ยง ยุทธ วงศ์ภิรมย์ ศานติ์ ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต . เพื่อความสุข ที่ยั่งยืนของสังคมไทย. วิสัยทัศน์. ค่านิยม. พันธกิจ.

hayes
Download Presentation

องค์กรแห่งการเรียนรู้กรมสุขภาพจิต : แนวคิดสู่การปฏิบัติจากแผน 10 สู่แผน 11 โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์กรแห่งการเรียนรู้กรมสุขภาพจิต : แนวคิดสู่การปฏิบัติจากแผน 10 สู่แผน 11 โดย นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต

  2. เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทยเพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ หน่วยงาน 17 โรงพยาบาล/สถาบัน 14 ศูนย์สุขภาพจิต และ 10 หน่วยงานส่วนกลาง

  3. วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต แผน ฯ 10 เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย

  4. พันธกิจกรมสุขภาพจิต แผนฯ 10 • พัฒนา ผลิต และถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชแก่เครือข่าย และประชาชน • บริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม และทันต่อสถานการณ์แก่ผู้ป่วยที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน

  5. ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 1: เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและ นอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงาน สุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลาง ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็น เลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร

  6. ค่านิยมกรมสุขภาพจิต M = service Mind E = Efficiency N = Network T = Team work A = Accountability L = Learning

  7. วิสัยทัศน์KM กรมสุขภาพจิต แผน 10 : พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร สุขภาพจิตในการดำเนินงาน ให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี แผน 11 : มุ่งเน้นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์/พันธกิจกรม

  8. 1. เป้าหมาย KM กรมสุขภาพจิต 2.แนวคิด KM กรมสุขภาพจิต 6. ภาพความสำเร็จ 5. กลวิธี /ปัจจัยความสำเร็จ 3.โครงสร้าง / บทบาทหน้าที่ 4. Road map

  9. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  10. 1. เป้าหมายของKM • บรรลุเป้าหมายองค์กร • - ทั่วถึงทั้งองค์กร องค์กร คน + องค์กรเก่งขึ้น • บูรณาการ • - ประสิทธิภาพ /ประสิทธิผล งาน คน - คิดเป็น ทำเป็น

  11. 2. แนวคิดกรมสุขภาพจิตเรื่อง KM บูรณาการใช้ความรู้ เพื่อพัฒนางาน ใช้ KM เพื่อเพิ่มคุณภาพงาน ใช้ KM ขับเคลื่อน พันธกิจ / ยุทธศาสตร์กรม นำองค์กรสู่ LO โดยมี วิสัยทัศน์ร่วม ค่านิยมร่วม จิตวิญญาณร่วม

  12. แนวคิด ปิรามิดความรู้ การใช้ความรู้ เพื่อพัฒนางาน R&D R2R / CQI KM

  13. CQIKM P D C A P D S I

  14. R&D KM C กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 1. บ่งชี้ความรู้ 2. สร้างและแสวงหาความรู้ 3. จัดการให้เป็นระบบ 4. ประมวลและกลั่นกรอง 5. เข้าถึงความรู้ 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7. เรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์ค้นหาข้อมูล A ออกแบบ นวตกรรม ทดสอบและปรับปรุง P,D ประชาสัมพันธ์ /ขยายผล

  15. แนวคิดหลักของ CEO และ CKO “ทำ KM ไม่ใช่เพื่อดำเนินงานตามแนวทางการจัดการความรู้ ที่ ก.พ.ร. กำหนดเท่านั้น” “ใช้ KM ไม่ใช่ทำ KM” “ทำ KM มุ่งเน้นเพื่อสร้างวัฒนธรรมการจัดการความรู้ภายในองค์กร” “นำ KM ไปใช้อย่างทั่วถึง และทั่วทั้งองค์กร” “ทำ KM ให้เนียนไปกับเนื้องาน” “การดำเนินงาน KM ยึดหลักการมีส่วนร่วม” “คนทำ KM ต้องมีความสุข”

  16. ใช้ KM - บูรณาการกับงานปกติ - พัฒนางาน - สร้างคุณค่าคน - สร้างนวัตกรรมองค์กร แนวคิด CKO ถูก KMใช้ - เป็นงานพิเศษ - จัดกิจกรรม - ใช้คน - กิจกรรมชั่วคราว

  17. CEO 3. โครงสร้างบทบาทหน้าที่ CKO คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารหน่วยงาน สำนักพัฒนาสุขภาพจิตเป็นเลขานุการ กำหนดแนวทางพัฒนาระบบการจัดการความรู้ ควบคุม กำกับ รายงานความก้าวหน้า /วิเคราะห์ จัดทำข้อเสนอแนะ แนวทาง/เป้าหมายการจัดการความรู้ ชี้แจงทำความเข้าใจ ติดตามประเมินผล พัฒนาปรับปรุงการทำงาน คณะทำงานพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต CKO /FA หน่วยงานในสังกัดสำนักพัฒนาสุขภาพจิตเป็นเลขานุการ ทำงานจัดการความรู้ / ทีมจัดการความรู้ มี CEO /CKO ผลักดัน/บริหารจัดการ/ บริหารแผนการจัดการความรู้ ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต (17 สถาบัน/โรงพยาบาล 15 ศูนย์สุขภาพจิต 10หน่วยงานส่วนกลาง)

  18. 4. Road Map /พัฒนาการ งาน KM ของกรมสุขภาพจิต ช่วงแผน 10

  19. Short & Long-termKM สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ + วัฒนธรรมการเรียนรู้ อนาคต • บูรณาการกับเครื่องมือคุณภาพต่างๆ • ส่งมอบความรู้เข้าระบบ • ยกระดับคุณภาพความรู้ 2554 • ขยาย KM สู่ทุกหน่วยงาน สนับสนุนยุทธศาสตร์กรม/หน่วยงาน + ขยายหน่วยนำร่อง KM ข้ามหน่วย • พัฒนาคลังความรู้ • ขยายระบบพี่เลี้ยง + พัฒนาศักยภาพบุคลากร • ยกระดับคุณภาพความรู้ • หาหน่วย good /Best practice 2551 - 2553 • ขยาย KM สู่ทุกหน่วยงาน สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์กรม/ หน่วยงาน + หน่วยนำร่องความรู้ข้ามหน่วยงาน • พัฒนาระบบพี่เลี้ยง + พัฒนาศักยภาพบุคลากร • จัดโครงสร้างเชิงระบบ(CKO, คณะกรรมการ, คณะทำงาน KM) • เสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการใช้ KM 2550 • เตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างเชิงระบบ ระดับหน่วยงาน • มีหน่วยนำร่องทำKM สู่การสร้างนวตกรรม • พัฒนาศักยภาพบุคลากร • เสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการใช้ KM 2549 • เตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างเชิงระบบ ระดับกรม • สร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจและทักษะที่จำเป็นในการจัดการความรู้ • ให้แก่คณะทำงาน KM ของทุกหน่วยงาน 2548

  20. 5. กลวิธี /ปัจจัย สู่ความสำเร็จ กลวิธี 1. จัดโครงสร้างองค์กร 2. หาแนวคิดที่เหมาะสม ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 3. กำหนดนโยบายเรื่อง KM ด้านผู้บริหาร 4. จุดประกายขายความคิด ด้านกระบวนการและเครื่องมือ 5.พัฒนาวิชาการ 6. เพิ่มคุณค่า เสริมความสุขใจ ด้านทีมขับเคลื่อน

  21. กลวิธีที่ 2 แสวงหาแนวคิด KM ที่เหมาะสม ต่อการดำเนินงานสุขภาพจิต • สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) 2. การจัดทำแผนการจัดการความรู้ตามแนว ก.พ.ร

  22. แนวคิดการจัดการความรู้แนวคิดการจัดการความรู้ • สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) • โมเดลปลาทู • การจัดการความรู้แบบสองวง • โมเดลปลาตะเพียน

  23. แนวคิดการจัดการความรู้แนวคิดการจัดการความรู้ 2. การจัดทำแผนการจัดการความรู้ตามแนว ก.พ.ร. • KMP • ซีร็อกซ์ โมเดล (CMP)

  24. การดำเนินงานการจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต ปี 49 - 54 กรมสุขภาพจิต หน่วยงาน ในสังกัดกรมสุขภาพจิต การจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต KM ใน PMQA (ตัวชี้วัด.....) การจัดการความรู้กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์(ตัวชี้วัด....) การจัดการความรู้ของทุกหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ตัวชี้วัดที่....)

  25. การนำเครื่องมือ “การจัดการความรู้” ไปใช้ในการพัฒนางานสุขภาพจิตครอบคลุมทุกประเด็นยุทธศาสตร์ และทั่วทั้งองค์กร โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต กำหนดแนวทางการจัดการความรู้ จัดสรรงบประมาณ วางระบบการติดตามประเมินผล

  26. (ตัวอย่าง) แผนการดำเนินงาน ภายใต้โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต

  27. การใช้ KM เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ขยายประเด็นความรู้เพื่อผลักดันความสำเร็จของตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ สนับสนุน /ผลักดันความสำเร็จของตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ …LO สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ ปี 52 - 54 ใช้ KM สนับสนุนกิจกรรม ในโครงการ ปี 51 ปี 50 เรียนรู้ เข้าใจ ปี 49 KM ปี 48

  28. จังหวะก้าวของทีม Facilitator ระดับกรมในการผลักดันให้หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตนำ KM ไปใช้ เป็นทีมพี่เลี้ยง +คัดเลือกหน่วยนำร่องอื่น + หน่วย PM(บริหารและติดตามผล) เป็นหน่วยนำร่องเรียนรู้ตามก.พ.ร. + เอื้ออำนวยการเรียนรู้แก่ทุกหน่วยงาน ปี 50 - 54 แสวงหาเรียนรู้ เข้าใจ ปี 49 KM ปี 48

  29. ขั้นตอนการเอื้ออำนวยให้เกิดการยอมรับ KM Co - creating Counseling Testing Selling Telling

  30. สรุป บทบาทการเป็น FA สู่ ความสำเร็จในการขับเคลื่อนงาน KM

  31. ตัวอย่างเทคโนโลยี/นวัตกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการตัวอย่างเทคโนโลยี/นวัตกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ • องค์ความรู้เรื่อง การบริหารระบบการจัดการด้านยาจิตเวช ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน HA • ชุดความรู้และแนวปฏิบัติเรื่อง การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยจิตเภท • โปรแกรม Sakeao Inter-Network Assiting Program(SINAP) • “ เสื้ออิสระ” สำหรับผูกยึดผู้ป่วย ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง สับสน

  32. ตัวอย่าง เทคโนโลยีสนับสนุนระบวนการถ่ายทอด ฯ เช่น คู่มือ วิทยากรสอนเรื่องเครียด ตัวอย่างนวัตกรรม / เทคโนโลยีของกระบวนการ ระบบการแจ้งรายละเอียดของการจ่ายเงินเดือนผ่านทางเว็ปไซต์

  33. แนวคิดหลักของ CEO และ CKO • “ทำ KM ไม่ใช่เพื่อดำเนินงานตามแนวทางการจัดการความรู้ที่ ก.พ.ร. กำหนดเท่านั้น” • “ใช้ KM ไม่ใช่ทำ KM” • “ทำ KM มุ่งเน้นเพื่อสร้างวัฒนธรรมการจัดการความรู้ภายในองค์กร” • “นำ KM ไปใช้อย่างทั่วถึง และทั่วทั้งองค์กร” • “ทำ KM ให้เนียนไปกับเนื้องาน” • “การดำเนินงาน KM ยึดหลักการมีส่วนร่วม” • “คนทำ KM ต้องมีความสุข”

  34. ผู้บริหารสูงสุดของกรมสุขภาพจิต(CEO)ผู้บริหารสูงสุดของกรมสุขภาพจิต(CEO) 1. กำหนดนโยบายและเน้นย้ำความสำคัญเรื่องการ จัดการความรู้2. บ่งชี้ความรู้ที่สำคัญของกรม3. ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ จัดการความรู้ 4. สนับสนุนทรัพยากรทางการบริหารเพื่อการจัดการ ความรู้5. จูงใจโดยการชมเชยและให้รางวัล

  35. “คุณเอื้อ”(Chief Knowledge Officer - CKO)กรมสุขภาพจิต 1. เชื่อมั่นและศรัทธาใน KM 2. ศึกษาและตัดสินใจเลือกรูปแบบการจัดการความรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของกรมสุขภาพจิต 3. จุดประกายและขายความคิดเรื่อง KM ให้แพร่หลายทั่วทั้งองค์การ 4. มีส่วนร่วมกิจกรรม KM 5. สนับสนุนและให้กำลังใจผู้ปฏิบัติและทีมงาน

  36. กลวิธี่ 5พัฒนาวิชาการด้านการจัดการความรู้

  37. การพัฒนาบุคลากร 5.1 จัดเวทีเรียนรู้เรื่อง KM แก่คณะทำงาน KM ทุก หน่วยงาน(อย่างน้อย 60 % ของคณะทำงาน) 5.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการจัดการ ความรู้แก่บุคลากรที่ทำงานด้านการจัดการความรู้ 5.3 จัดเวทีสาธิตการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใต้ประเด็น เฉพาะแก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิต 5.4 จัดเวทีเรียนรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในตลาดนัด ความรู้สู่สุขภาพจิตดี 5.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางานเฉพาะเรื่อง

  38. หลักสูตรการอบรมปีต่าง ๆ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร KM ปี 48 - 53

  39. ต้นทุนทางทรัพยากรบุคคลต้นทุนทางทรัพยากรบุคคล 1. ทุนปัญญาที่สั่งสมจากประสบการณ์ในหน้างาน 2. การทำงานในรูปแบบสหวิชาชีพ 3. เทคนิค ทักษะที่ใช้ในการทำงาน เช่น การฟัง การถาม การทำกลุ่ม 3. คุณลักษณะและความสามารถร่วมที่ได้รับการฝึกฝนจาก การทำงาน 3.4.1 การสังเกต 3.4.2 การใส่ใจ เข้าใจ เห็นอกเห็นใจ 3.4.3 ความสามารถในการสื่อสาร

  40. กลวิธีที่ 6 การเสริมคุณค่า และสร้างความสุขใจ

  41. เวที แลกเปลี่ยน เรียนรู้ผลงาน การจัดการความรู้ จากหน่วยงาน โครงการตลาดนัดความรู้สู่สุขภาพจิตดี ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 8 - 10 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมปริ้นซ์พาเลช มหานาค กรุงเทพมหานคร  ผู้เข้าร่วมงานทั้งหมด 393 คน จากบุคลากรสังกัดกรมสุขภาพจิต และจากหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ / เอกชน 30หน่วยงาน นำผลงานจาก KM มาจัดแสดงนิทรรศการ รวม 30 เรื่อง ความพึงพอใจต่อการจัดงานฯ ของผู้เข้าร่วมงาน อยู่ในระดับมากขึ้นไป (คิดเป็นร้อยละ 86.7)

  42. เสริมแรงใจ ด้วยการยกย่องชมเชย รางวัลชนะเลิศผลงานการจัดการความรู้ดีเด่นปี 2554 KM กับบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 1 2 3 KMกับการสนับสนุนการทำงานของเครือข่าย 1 KMกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 1 มอบรางวัลหน่วยงานที่ดำเนินการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุน/ผลักดัน ความสำเร็จของตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต มอบรางวัลหน่วยงานหลักที่ดำเนินงาน/ผลักดันความสำเร็จ ของตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับกลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์

  43. สิ่งดีๆจากการนำ KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต จากการสำรวจทีมการจัดการความรู้ปี 53 KM กับการพัฒนาบุคลากร บุคลากรมีความรู้ และ นำ KM ไปใช้กับงานประจำมากขึ้น กระตือรือร้นในการทำงานมากขึ้น เห็นและเพิ่มคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานมากขึ้น มีการแลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้ ความคิดเห็น และเรียนรู้เทคนิคการทำงานต่าง ๆ กันมากขึ้น ทั้งภายในหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตกับผู้รับบริการ เครือข่าย สร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน เช่น เกิดการรับฟังความคิดเห็นระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงาน มีการทำงานเป็นทีมมากขึ้น เห็นความสำคัญซึ่งกันและกันว่าต่างเป็นฟันเฟืองในการทำงาน

  44. สิ่งดีๆจากการนำ KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต KM กับการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ทั้งด้านการบริการ และ วิชาการที่สามารถนำไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง มีการนำ KM ไปบูรณาการกับงานประจำ ทำให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีแนวทางการดำเนินงานที่เป็นมาตรฐาน ลดข้อผิดพลาด ความซับซ้อนในการทำงาน เกิดคลังความรู้ของหน่วยงาน ประหยัดทรัพยากรในการทำงาน เป็นต้น

  45. สิ่งดีๆจากการนำ KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต ลักษณะของการนำ KM ไปใช้ในหน่วยงานในสังกัดกรม นำ KM ไปบูรณาการกับเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพขององค์กรได้แก่ HA, CQI, HR (17 แห่ง จากทั้งหมด 29 แห่ง) จากทั้งหมด 29 หน่วยงาน พบว่า ร้อยละ 50 มีการนำ KM ไปใช้ในทุกหน่วยงานย่อย (15 หน่วยงาน) ที่เหลือมีการนำไปใช้ในบางหน่วยงานย่อย มีชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)ที่ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2550 หรือ 2551 -2553 ทั้งสิ้น 21 CoPs จาก13 หน่วยงาน

  46. สิ่งดีๆจากการนำ KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต จากรายงานผลการดำเนินงาน KM ของทุกหน่วย(ปี 50 – 53) KM กับการพัฒนาองค์กร มีความรู้ที่ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานทั้ง 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต ความรู้ผ่านกระบวนการพัฒนาที่มีคุณภาพมากขึ้น ช่วยให้การดำเนินงานสุขภาพจิตดีขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสอดคล้องกับบริบทของคนไทยมากขึ้น เป็นที่ยอมรับขององค์กรอื่น ๆ

  47. สิ่งดีๆจากการนำ KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต Learning : ตระหนักว่า บุคลากรทุกระดับมีคุณค่า มีความรู้ ความสามารถ การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นกิจกรรมระดับกรมและหน่วย Team : สร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน กระชับมิตรภาพ ความร่วมมือร่วมใจ พัฒนาการทำงานเป็นทีมมากขึ้น Network : เรียนรู้ความต้องการ ความคาดหวัง จากผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เช่น Good Practice จากผู้ปฏิบัติงานรพ.เครือข่าย สุขภาพจิตและจิตเวช การดูแลเด็กออทิสติกจากผู้ปกครอง KM กับการสร้างวัฒนธรรม / ค่านิยมในองค์กร

  48. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2.การวางแผน ฯ 3.17 คะแนน 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 2.8คะแนน 1. การนำ องค์กร 3 คะแนน 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 2.8 คะแนน 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการ ฯ 3 คะแนน 6. การจัดการ กระบวนการฯ 3 คะแนน 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3.4 คะแนน คะแนนการประเมินตนเอง (KMA)แต่ละหมวด

  49. วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต แผนฯ 11 • เป็นศูนย์กลางความเชี่ยวชาญในการพัฒนางานสุขภาพจิต พันธกิจกรมสุขภาพจิต แผนฯ 11 เสริมสร้างศักยภาพประชาชนให้มีสุขภาพจิตดี ส่งเสริมบทบาทของภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพจิตให้แข็งแรง พัฒนาบริการและวิชาการสุขภาพจิตให้มีคุณภาพและเข้าถึงง่าย สร้างกลไกในการพัฒนางานสุขภาพจิต

More Related