1 / 13

การใช้ปัจจัยการผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผลคุ้มค่า

การใช้ปัจจัยการผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผลคุ้มค่า. บรรยายที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี จัดทำและบรรยายโดย นายสมคิด ตันประเสริฐ B.Sc .( Ag. )จากมหาวิทยาลัยแห่งแคว้น Rajasthan ประเทศอินเดีย. ปุ๋ยเคมี :: หนึ่งในปัจจัยการผลิตที่จำเป็น.

hayes-bauer
Download Presentation

การใช้ปัจจัยการผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผลคุ้มค่า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ปัจจัยการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผลคุ้มค่า บรรยายที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี จัดทำและบรรยายโดย นายสมคิด ตันประเสริฐ B.Sc.(Ag.)จากมหาวิทยาลัยแห่งแคว้นRajasthan ประเทศอินเดีย

  2. ปุ๋ยเคมี :: หนึ่งในปัจจัยการผลิตที่จำเป็น • ปุ๋ยเคมี นับเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญในระดับต้นๆของการเกษตร ดังนั้น เกษตรกรควรมีหลักการเบื้องต้น ในการเลือกซื้อที่ให้ผลคุ้มค่าการลงทุน มิเช่นนั้นแล้วท่านอาจต้องเสียทั้งเงิน เสียทั้งเวลาไปหนึ่งฤดูกาลผลิตโดยไม่สามารถแก้ไขได้ ปุ๋ยที่คิดว่าราคาถูกนั้น อาจกลับกลายเป็นไม่คุ้มค่ากับเงินที่ท่านจ่ายไป

  3. วิธีการสังเกตและเลือกซื้อปุ๋ยในเบื้องต้นวิธีการสังเกตและเลือกซื้อปุ๋ยในเบื้องต้น • ดูจากเม็ดปุ๋ยในกระสอบ ซึ่งเป็นการยากไม่สามารถขอเปิดดูก่อนซื้อ หรือดูเม็ดก็ไม่รู้ เพราะไม่มีความชำนาญพอ • ดูจากหน้ากระสอบ ที่กระสอบปุ๋ยควรมี วันที่ผลิต และหมายเลขลำดับการผลิต เพื่อให้สามารถสอบกลับถึงคุณภาพและที่มาของปุ๋ยได้ทุกกระสอบ

  4. พระราชบัญญัติปุ๋ย(ฉบับที่2) พ.ศ.2550หมวด 3 มาตรา 21 วรรค 3และ4 • ในฉลากปุ๋ย ต้องแสดง 1) ชื่อทางการค้า และมีคำว่า ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีมาตรฐาน ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยอินทรีย์เคมี แล้วแต่กรณี

  5. พระราชบัญญัติปุ๋ย(ฉบับที่2) พ.ศ.2550หมวด 3 มาตรา 21 วรรค 3และ4 • ในฉลากปุ๋ย ต้องแสดง 2) เครื่องหมายการค้า หรือตรา พร้อมทั้งสูตรปุ๋ย

  6. พระราชบัญญัติปุ๋ย(ฉบับที่2) พ.ศ.2550หมวด 3 มาตรา 21 วรรค 3และ4 • ในฉลากปุ๋ย ต้องแสดง 3) ปริมาณธาตุอาหารรับรอง ทั้งปริมาณธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรอง

  7. พระราชบัญญัติปุ๋ย(ฉบับที่2) พ.ศ.2550หมวด 3 มาตรา 21 วรรค 3และ4 • ในฉลากปุ๋ย ต้องแสดง 4) ชื่อผู้ผลิต ที่ตั้งสำนักงาน และสถานที่ผลิต

  8. พระราชบัญญัติปุ๋ย(ฉบับที่2) พ.ศ.2550หมวด 3 มาตรา 21 วรรค 3และ4 • ในฉลากปุ๋ย ต้องแสดง 5) เลขทะเบียนปุ๋ยที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมวิชาการเกษตร

  9. พระราชบัญญัติปุ๋ย(ฉบับที่2) พ.ศ.2550หมวด 3 มาตรา 21 วรรค 3และ4 • ตามข้อความในวรรคที่3 ของมาตราที่21 ระบุไว้ดังนี้ • จัดให้มีการวิเคราะห์ปุ๋ยเคมีทุกครั้งที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถานที่ผลิต โดยมีหลักฐานแสดงรายละเอียดของผลการวิเคราะห์ทุกครั้ง ซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าสิบปี

  10. บริษัท วรรณวิมล จำกัดอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี • ปุ๋ยทุกกระสอบในเครื่องหมายรับรองคุณภาพ ตราภูเขาไฟ ผ่านการผลิตด้วยระบบที่เป็นมาตรฐาน • มีการตรวจสอบคุณภาพทุกขั้นตอนการผลิต สามารถสอบย้อนถึงการผลิตได้ทุกกระสอบ • มีการวิเคราะห์สูตรในห้องปฏิบัติการ พร้อมใบรับรอง เพื่อความมั่นใจ

  11. มีการวิเคราะห์และรับรองผลทุกสูตร ทุกกระสอบส่งจำหน่ายไปยังสถาบัน ธ.ก.ส.และสหกรณ์การเกษตรทุกแห่ง

  12. ด้วยสำนึกที่ต้องการรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์ของเกษตรกร ให้มั่นใจได้ว่า ต้องได้ประโยชน์ตรงตามความเป็นจริง ของเงินที่ท่านจ่ายไป • โปรดพิจารณาเลือกซื้อปุ๋ยที่คุณภาพ มิใช่ราคา • เลือกซื้อจากผู้ผลิตที่มั่นใจ และมีมาตรฐาน ซึ่งท่านสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก website ของบริษัทฯที่ www.wonvimon.co.th

  13. ขอได้รับการขอบพระคุณจากเราบริษัท วรรณวิมล จำกัด

More Related