1 / 5

โรคอาหารเป็นพิษ

โรคอาหารเป็นพิษ. เสนอ. อ. สุมน คณานิตย์. จัดทำโดย ด.ช. ภีรสิทธิ์ ภมรพล เลขที่ 55 ด.ญ. ศุภชาดา จันทร์เจ้าฉาย เลขที่ 44 ด.ญ. ดมิสา ระบือพิน เลขที่ 15. โรคอาหารเป็นพิษ สาเหตุสำคัญเกิดจากเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนในอาหารที่ปรุงสุกๆ

hayden
Download Presentation

โรคอาหารเป็นพิษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย ด.ช. ภีรสิทธิ์ ภมรพล เลขที่ 55 ด.ญ. ศุภชาดา จันทร์เจ้าฉาย เลขที่ 44 ด.ญ. ดมิสา ระบือพิน เลขที่ 15

  2. โรคอาหารเป็นพิษ สาเหตุสำคัญเกิดจากเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนในอาหารที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ เช่น เนื้อไก่, หมู, วัว, ไข่เป็ด, ไข่ไก่, อาหารกระป๋อง, อาหารทะเล และน้ำ นมที่ยังไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้ออาหารไม่ได้แช่เย็น และไม่ได้อุ่นก่อนรับประทาน ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อ และสารพิษที่ขับออกมา เชื้อโรค สามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวน และผลิต สารพิษได้อย่างรวดเร็ว

  3. อาการ • อุจจาระร่วง, คลื่นไส้, อาเจียน, ปวดท้องเนื่องจากเชื้อโรคทำให้เกิดการอักเสบของลำไส้ • มีไข้, ปวดศีรษะ, ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามตัว • รายที่ท้องเสียมากๆ เกิดอาการขาดน้ำและเกลือแร่ • รายที่อาการรุนแรงเนื่องจากการติดเชื้อ เกิดการอักเสบที่อวัยวะต่างๆ เช่น ข้อกระดูก ถุงน้ำดี, กล้ามเนื้อ, หัวใจ, ปอด, ไต เยื่อหุ้มสมองและเมื่อเข้าสู่กระแสโลหิตจะทำให้เกิดโลหิตเป็นพิษ ทำให้เสียชีวิตได้ โดยเฉพาะเด็กทารก, เด็กเล็กและผู้สูงอายุ

  4. การรักษา • ควรให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ หรืออาหารเหลวอ่อนย่อยง่าย, แกงจืด,ผลไม้, โจ๊กหรือข้าวต้ม, ปลาเนื้อสัตว์ต้มเปื่อย ให้ดื่มสารละลายเกลือแร่ (ORS) ทุกครั้งที่ถ่ายเหลวเด็กที่ยังกินนมอยู่ ให้ดื่มสารละลายน้ำตาลเกลือแร่สลับกันไปผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้น ถ่ายเป็นน้ำมาก อาเจียนบ่อย กระหายน้ำตาลึกโหล กินอาหารหรือดื่มน้ำไม่ได้ มีไข้ถ่ายเป็นมูกมีเลือด ปน ให้ส่งต่อสถานบริการสาธารณสุข ไม่จำเป็นต้องกินยาหยุดถ่าย เพราะการถ่ายอุจจาระเป็นกลไกของร่างกายที่ขับของเสีย สารพิษ และเชื้อโรคออกจากร่างกายการใช้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อ ควรอยู่ • ในการดูแลของแพทย์ และใช้ในรายที่เป็นบิดถ่ายเป็นมูกมี • เลือดปนอุจจาระร่วงอย่างแรง หรือมีอาการอื่นแทรกซ้อน • เนื่องจากอาจกระตุ้นให้แพ้ยา หรือดื้อยาได้

  5. การป้องกัน • ล้างมือด้วยสบู่ให้สะอาดทุกครั้ง ก่อนปรุงหรือรับประทานอาหารและ หลังเข้าห้องส้วมทุกครั้งประทานอาหารที่สะอาด สุกใหม่ๆ ไม่รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ และมีแมลงวันตอมผักสดหรือผลไม้ควรล้างให้สะอาดด้วยน้ำผสมคลอรีนหรือด่างทับทิม กำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและ ถ่ายอุจจาระลงในส้วม ผู้ประกอบอาหาร พนักงานเสริฟ ควรหมั่นล้างมือและรักษาความสะอาด ภาชนะ อุปกรณ์เครื่องใช้ในการประกอบอาหาร หากมีอาการอุจจาระร่วง ควรหยุดปฏิบัติงานจนกว่าจะหาย • หรือตรวจไม่พบเชื้อ

More Related