1.1k likes | 1.29k Views
สมศ. ครบรอบการดำเนินงาน 1 ปี. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การดำเนินงานของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในอนาคต” โดย. ศาสตราจารย์ ดร. สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. สมศ. กับการประกันคุณภาพการศึกษา : ปัจจุบัน และ อนาคต.
E N D
สมศ. ครบรอบการดำเนินงาน 1 ปี
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การดำเนินงานของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในอนาคต” โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
สมศ. กับการประกันคุณภาพการศึกษา : ปัจจุบัน และ อนาคต • สมศ. องค์การมหาชนทางวิชาการ เพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษา (วิสัยทัศน์ แผนงาน : ปัจจุบัน) • สมศ. กับการประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน • สมศ. กับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา • - ระดับปริญญา • - ระดับต่ำกว่าปริญญา • สมศ. องค์การมหาชนทางวิชาการ เพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษา : ในอนาคต
สมศ. กับการประกันคุณภาพการศึกษา : ปัจจุบัน และ อนาคต สมศ. องค์การมหาชนทางวิชาการ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (วิสัยทัศน์ แผนงาน : ปัจจุบัน)
โครงสร้างการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสมศ. (องค์การมหาชน) 1. วิสัยทัศน์ 2. พันธกิจตามกฎหมาย 3. จุดมุ่งหมาย 4.วัตถุประสงค์ 5. ผลผลิตเป้าหมาย 6. ตัวบ่งชี้ 7. ภารกิจยุทธศาสตร์ 8. กลยุทธ์9. โครงสร้างองค์กร 10. นโยบาย 11. แผนการดำเนินงาน/ งาน /โครงการและตัวบ่งชี้
1. วิสัยทัศน์ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นองค์การมหาชนทางวิชาการ ที่เชี่ยวชาญด้านการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของไทยให้มี คุณภาพ ทำให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมการประเมิน เพื่อสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพในสังคมไทย
2. พันธกิจตามกฎหมาย เพื่อพัฒนาเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2. พันธกิจตามกฎหมาย 2.1 พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก กำหนดกรอบ แนวทาง และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกที่มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษาและหน่วยงานตันสังกัด 2.2 พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก 2.3 ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก 2.4 กำกับดูแลและกำหนดนมาตรฐานการประเมิน คุณภาพภายนอกที่ดำเนินการโดยผู้ประเมินภายนอก
2. พันธกิจตามกฎหมาย 2.5 พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมและสนับสนุนให้องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพหรือวิชาการ เข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ 2.6 เสนอรายงานการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประจำปีต่อรัฐบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน
3. จุดมุ่งหมาย ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีการบริหารและการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ มีการประกันคุณภาพภายในและการประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีความสามารถ และมีความสุขตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ อันจะนำไปสู่การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ
4. วัตถุประสงค์ สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการประเมินภายนอกจาก ผู้ประเมินที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีคุณภาพเป็นที่ ยอมรับ อย่างน้อย 1 ครั้ง ในรอบ 5 ปี โดยได้รับการประเมินภายนอกครั้งแรกภายในปี 2548 ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพมากยิ่งขึ้น
5. ผลผลิตเป้าหมาย • ผลผลิต หน่วยนับ ประมาณการผลงาน • ปี 44 45 46 47 48 • ส่งเสริม แห่ง 5000 4000 5000 5000 5000 • /ฝึกอบรม • เพื่อพร้อม • ประเมิน • ภายนอก • ฝึกอบรม • ปฐมนิเทศ คน 620 700 1500 1500 1500 • ผู้ประเมิน • ภายนอก
5. ผลผลิตเป้าหมาย • ผลผลิต หน่วยนับ ประมาณการผลงาน • ปี 44 45 46 47 48 • ประเมิน แห่ง - 4150 13200 13700 18200 • ภายนอก • รายงาน เรื่อง - 1 1 1 1 • การประเมิน • คู่มือการ เรื่อง 1 1 1 1 1 • เตรียมพร้อม • คู่มือการ เรื่อง 2 2 2 2 2 • ประเมิน • ภายนอก
5. ผลผลิตเป้าหมาย • ผลผลิต หน่วยนับ ประมาณการผลงาน • ปี 44 45 46 47 48 • รายงาน เรื่อง 2 3 3 3 3 • การศึกษา • วิจัย
6. ตัวบ่งชี้ 6.1 มีระบบ เกณฑ์ และแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับการศึกษา 6.2 สถานศึกษาทุกแห่งมีการประกันคุณภาพภายในและพร้อมรับการประเมินภายนอก 6.3 มีผู้ประเมินภายนอกที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ 6.4 สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการประเมินภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในรอบ 5 ปี
6. ตัวบ่งชี้ 6.5 มีรายงานการประเมินคุณภาพการ ศึกษาของประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลในการ พัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 6.6 มีรายงานการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านประกันคุณภาพการศึกษา 6.7 มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศ
7. ภารกิจยุทธศาสตร์ สอดคล้องเชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543
8. กลยุทธ์ 8.1 ส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการประกันคุณภาพภายในเพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก โดยพัฒนาผู้บริหารและบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความตระหนัก เห็นความสำคัญของการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกรวมทั้งให้ความรู้ ทักษะในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงาน ดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เน้นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารจัดการโดยเฉพาะด้านวิชาการ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
8. กลยุทธ์ 8.2 การพัฒนาระบบประเมินคุณภาพสถานศึกษาจากภายนอกที่มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพมากขึ้น 8.3 สรรหาและพัฒนาผู้ประเมินภายนอกที่มีคุณภาพและมีคุณสมบัติที่เหมาะสมเป็นที่น่าเชื่อถือ 8.4 ดำเนินการเพื่อให้มีประเมินภายนอกสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ในรอบ 5 ปี เพื่อให้สถานศึกษามีการพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ
8. กลยุทธ์ 8.5 ดำเนินการตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศในทุกระดับการศึกษา และจัดทำรายงานเผยแพร่ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน 8.6 เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ทุกฝ่ายยอมรับและศรัทธาต่อสถานศึกษาคุณภาพ สถานศึกษาที่มีคุณภาพาจะได้รับการสนับสนุนและสามารถแข่งขันได้ สถานศึกษาที่มีคุณภาพต้องมีการประเมินและปรับปรุง คุณภาพอยู่เสมอ 8.7 สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
8. กลยุทธ์ 8.8 พัฒนาบุคลากร ในด้านการประกันคุณภาพการศึกษา การวิจัยคุณภาพการศึกษา 8.9 สนับสนุนสถานศึกษา ในด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาจุดอ่อนหลังจากมีการประเมินภายนอก 8.10 สร้างระบบการทำงานแบบเครือข่าย
9. โครงสร้างองค์กร และการจัดแบ่งส่วนงานของ สมศ. การบริหารงานของ สมศ. เป็นลักษณะการแบ่งส่วนงานและระบบการบริหาร ในแนวราบและการรวมบริการในการบริหารงานและประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกดำเนินการโดยใช้ระบบการจ้างเหมาองค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ และวิชาการที่ได้รับการรับรองจากสมศ. และ สมศ. เป็นผู้ร่วมดำเนินการ
นายกรัฐมนตรี คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้อำนวยการ ที่ปรึกษา รองผู้อำนวยการ กลุ่มงานประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มงานประเมิน การศึกษา ระดับอุดมศึกษา กลุ่มงาน สารสนเทศ/ระบบคอมพิวเตอร์ กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา ผู้ประเมิน ภายนอก คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานประเมินผลงานของผู้ประเมินภายนอก กลุ่มงานอำนวยการ - งานบริหารทั่วไป - งานบุคคล - งานการเงินและกฎหมาย - งานพัฒนาสัมพันธ์
10. นโยบายการดำเนินงาน ของ สมศ. 10.1 สมศ. มีการบริหารงานที่คล่องตัว อิสระ เที่ยงตรง เป็นธรรม มีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) และตรวจสอบ ถ่วงดุลย์ (check and balance) อย่างจริงจัง 10.2 มุ่งเน้นคุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงาน 10.3 ส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ 10.4 จัดวางระบบข้อมูล เชื่อมโยงกับระบบข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
10. นโยบายการดำเนินงาน ของ สมศ. 10.5 จุดมุ่งหมายหลักของการประเมิน คือ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ ไม่ได้มุ่งเน้นการตัดสินให้คุณให้โทษ 10.6 สมศ.ไม่ทำการประเมินเอง ยกเว้นกรณีเพื่อการพัฒนาระบบและวิธีการ 10.7 การประเมินภายนอก จะต้องทำงานโปร่งใส มีหลักฐาน 10.8 สนับสนุนองค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพหรือวิชาการ ให้มีส่วนร่วมในการอบรมผู้ประเมินภายนอก
10. นโยบายการดำเนินงาน ของ สมศ. 10.9 สมศ. คัดเลือกผู้ประเมินภายนอกตามเกณฑ์ความสามารถ เพื่อให้การรับรองและขึ้นทะเบียนผู้ประเมิน พรัอมทั้งตรวจสอบผู้ประเมินเป็นระยะๆ 10.10 ทำงานในลักษณะ “เครือข่าย” กับฝ่ายต่างๆ เพื่อสร้างจิตสำนึกในความรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษาร่วมกัน ไม่ทำงานในลักษณะมีอำนาจเหนือฝ่ายอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานศึกษา 10.11 แผนการดำเนินงาน 10.11.1 แผนงบประมาณ 2545 10.11.2 แผนงบประมาณ 2546-2548
สมศ. กับการประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษา การประกัน คุณภาพภายใน การประเมิน คุณภาพภายนอก 15
ร่วมกันวางแผน plan การควบคุมคุณภาพ Act Do ร่วมกันปฏิบัติ ร่วมกันปรับปรุง Check การตรวจสอบและประเมินคุณภาพ ร่วมกันตรวจสอบและประเมิน
มาตรา 48 หน่วยงานที่กำกับดูแล & สถานศึกษา ประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 18
การประกันคุณภาพภายใน • ผสมผสาน • ต่อเนื่อง • ประเมินเพื่อพัฒนา • เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
x การประกันคุณภาพภายใน • ไม่ผสมผสาน • ไม่ต่อเนื่อง • ประเมินเพื่อประเมิน • เน้นเอกสารและการ กรอกแบบสอบถาม • ผสมผสาน • ต่อเนื่อง • ประเมินเพื่อพัฒนา • เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ
มาตรา 48 • สถานศึกษาทุกแห่ง • มีการประกันคุณภาพภายใน • จัดทำรายงานเสนอตันสังกัด หน่วย เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทุกปี • นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ & พร้อมรับ การประเมินภายนอก 19
การประเมินตนเองของสถานศึกษา (SSE : School Self-Evaluation) จุดหมายและพันธกิจของสถานศึกษา แผนพัฒนาสถานศึกษา ทีมการประเมินจากภายนอก การวางแผน : วัตถุประสงค์ระยะยาวและเป้าหมายรายปี ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ (KPI) ปรับวัตถุประสงค์ระยะยาวและเป้าหมายสำหรับปีต่อไป การปรับปรุง พัฒนาตนเอง และความรับผิดขอบ ของสถานศึกษา การนำแผนสู่การปฏิบัติและระบบกำกับดูแล การประเมินตนเอง รายงานประจำปี
มาตรา 49 การประเมินคุณภาพภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ. องค์การมหาชน) รับผิดชอบ 20
มาตรา 49 การประเมินคุณภาพภายนอก ให้สถานศึกษารับการประเมิน ภายนอก อย่างน้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี 21
มาตรา 50 สถานศึกษาทุกแห่งให้ความร่วมมือ สมศ. เตรียมเอกสาร หลักฐานและให้ข้อมูล 19
มาตรา 51 สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะของ สมศ. 19
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา รายงาน การประเมินตนเอง การตรวจเยี่ยม รายงานผลการประเมิน การติดตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ
หลักการในการดำเนินงานหลักการในการดำเนินงาน 1. ประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพมากกว่าการตัดสินให้ คุณ-โทษ 2. มีการตรวจสอบที่เที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ 3. สร้างสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับหลัก การทางการศึกษาของชาติ 4. มุ่งส่งเสริมและประสานงาน เป็นกัลยาณมิตร 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม 86
วัตถุประสงค์ 1. ยืนยันสภาพจริง 2. ชี้จุดเด่น จุดด้อย ปัญหา เงื่อนไขความสำเร็จ3. เสนอแนะแนวทางปรับปรุง 4. ส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ5. รายงานสาธารณชน & หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการดำเนินงาน พัฒนาระบบ & เกณฑ์ 79
ขั้นตอนการดำเนินงาน พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม 79
พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม คัดเลือก & รับรอง หน่วยประเมิน ขั้นตอนการดำเนินงาน 79
พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม คัดเลือก & รับรอง หน่วยประเมิน หน่วยประเมินส่งรายชื่อใหั สมศ. คัดเลือกเพื่อเข้าฝึกอบรม ขั้นตอนการดำเนินงาน 79
พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม คัดเลือก & รับรอง หน่วยประเมิน หน่วยประเมินส่งรายชื่อใหั สมศ. คัดเลือกเพื่อเข้าฝึกอบรม รับรอง ผู้ประเมิน ขั้นตอนการดำเนินงาน 79
พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม คัดเลือก & รับรอง หน่วยประเมิน หน่วยประเมินส่งรายชื่อใหั สมศ. คัดเลือกเพื่อเข้าฝึกอบรม • เลือกสถานศึกษา • ทำสัญญาจ้าง รับรอง ผู้ประเมิน ขั้นตอนการดำเนินงาน 79
พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม คัดเลือก & รับรอง หน่วยประเมิน หน่วยประเมินส่งรายชื่อใหั สมศ. คัดเลือกเพื่อเข้าฝึกอบรม รับรอง ผู้ประเมิน • เลือกสถานศึกษา • ทำสัญญาจ้าง • ทีมประเมินดำเนินการ • ติดตามผู้ประเมิน ขั้นตอนการดำเนินงาน
พัฒนาระบบ & เกณฑ์ คัดเลือก & รับรอง หน่วยฝึกอบรม คัดเลือก & รับรอง หน่วยประเมิน หน่วยประเมินส่งรายชื่อใหั สมศ. คัดเลือกเพื่อเข้าฝึกอบรม • เลือกสถานศึกษา • ทำสัญญาจ้าง รับรอง ผู้ประเมิน • รับรองรายงาน • เผยแพร่ • ทีมประเมินดำเนินการ • ติดตามผู้ประเมิน ขั้นตอนการดำเนินงาน 79