1 / 28

การใช้ยาในเด็ก

การใช้ยาในเด็ก. พญ . รัตนา กาสุ ริย์. หลักการใช้ยาในเด็ก. 1. ใช้ยาเฉพาะเมื่อมีข้อบ่งชี้ ใช้ด้วยความระมัดระวัง 2. เลือกใช้ยาที่ผ่านการรับรองว่ามีประสิทธิภาพในการรักษา เหมาะสมกับโรคและผู้ป่วย ประวัติการแพ้ยา ชนิดของยาและราคายา

hashim
Download Presentation

การใช้ยาในเด็ก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ยาในเด็ก พญ.รัตนา กาสุริย์

  2. หลักการใช้ยาในเด็ก • 1. ใช้ยาเฉพาะเมื่อมีข้อบ่งชี้ ใช้ด้วยความระมัดระวัง • 2. เลือกใช้ยาที่ผ่านการรับรองว่ามีประสิทธิภาพในการรักษา เหมาะสมกับโรคและผู้ป่วย ประวัติการแพ้ยา ชนิดของยาและราคายา • 3. ต้องมีความรู้เกี่ยวกับเภสัชวิทยา พิษและผลข้างเคียงของยาที่ใช้

  3. หลักการใช้ยาในเด็ก • 4. ต้องทราบขนาด วิธีการให้ และระยะเวลาที่ให้ยา • 5. คำนึงถึงโรคประจำตัว เช่น G6PD def. จะเกิด hemolysis เมื่อได้รับยา sulfa • 6. การให้ยาหลายชนิดต้องคำนึงถึง drug-drug interaction • 7. ทารกแรกเกิด มีพื้นที่ผิวกายมากกว่าผู้ใหญ่ถึง 3 เท่า จึงดูดซึมยาทางผิวหนังมากกว่าผู้ใหญ่ 3 เท่าด้วย จึงควรเลือกความเข้มข้นให้เหมาะสม

  4. หลักการใช้ยาในเด็ก • 8.การดูดซึมยาในเด็กเรียงลำดับจากเร็วไปช้า ดังนี้ liquid > suspension > capsule > tablet > sustained release tablet • 9. ควรแนะนำวิธีการใช้ยาให้พ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง

  5. ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก • คำนวณจากน้ำหนักตัว ขนาดสูงสุด ( maximal dose) ที่คำนวณได้โดยใช้น้ำหนักตัวเป็นหลัก ถ้าเกินขนาดที่ใช้ในผู้ใหญ่ต้องให้ขนาดที่ใช้ในผู้ใหญ่ • ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก ถ้าเด็กอ้วน ต้องใช้ ideal body weight หรือ weight for height มาคำนวณ เด็กที่บวม ต้องใช้น้ำหนักตัวก่อนบวมมาคำนวณ • เด็กที่มีการทำงานของไตลดลงหรือเสียไป ต้องปรับลดขนาดยาชนิดที่ขับออกทางไตลง

  6. Metric system • 5 ml = 1 teaspoon (tsp.) • 15 ml = 1 tablespoon (table sp.) • 30 ml = 1 ounce 1 grain ( gr.1) = 60 mg. • Intervals • OD : วันละครั้ง bid : วันละ 2 ครั้ง • tid : วันละ 3 ครั้ง qid : วันละ 4 ครั้ง

  7. วิธีการรับประทานยา • ถูกเวลา • ก่อนอาหาร ( ac ) • 1 ชั่วโมง ยาปฏิชีวนะ Penicillin • 30 นาที ยาแก้อาเจียน แก้ปวดท้อง • หลังอาหาร ( pc ) • ทั่วไป15-30 นาที • หลังอาหารทันที Steroid , NSAIDS , Aspirin ตอนท้องว่าง ก่อนอาหาร 1 ชม . หรือหลังอาหาร 2 ชม .

  8. Emergency medication • Epinephrine • ทาง IV 0.01 mg/kg/dose or 0.1 ml/kg/dose (1: 10,000) • ทาง ETT 0.1 mg/kg/dose or 0.1 ml/kg/dose (1: 1,000) ให้ยาทุก 5-10 นาที อาจทำให้เกิด arrythmia ,tachycardia, hypertension headache, nausea/voitting ได้

  9. Respiratory drugs • ยารักษาอาการทางระบบหายใจ แบ่งเป็น 6 กลุ่ม • 1. antihistamine • 2. decongestants • 3. expectorants • 4. mucolytics & mucoregulators • 5. bronchodilators & anti-inflammatory agents • 6. cough suppressants

  10. การใช้ยาแก้ไอหวัด • . ควรเลือกยาประเภทเดี่ยวๆ ที่ตรงกับอาการของผู้ป่วย ไม่ควรใช้ยาสูตรผสมที่มียาหลายประเภทรวมอยู่ในยาชนิดเดียว ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาสูตรผสม ให้คำนวณขนาดตัวยาที่มีปริมาณมากที่สุดเป็นหลัก

  11. Antihistamines • อาศัยฤทธิ์ anticholinergic effect : น้ำมูกแห้ง ลดการหลั่ง secretion ในทางเดินหายใจ • ไม่ควรให้ในเด็กอายุ < 3 เดือน ทำให้เกิดอาการง่วงซึม 2 nd & 3 rd generation eg. Cetirizine, loratadine • ไม่มีการศึกษาว่าได้ผลดีในหวัด แต่ได้ผลใน allergic rhinitis

  12. Antihistamines • Chlorpheniramine (CPM) 0.35 mg/kg/day PO tid-qid 4 mg/tab. , 2 mg/5 ml Diphenhydramine-HCL 5 mg/kg/day PO tid-qid (MAX. 300 mg/day) • Benadryl cough syrup 12.5 mg/5 ml , 25 mg/cap Benadryl-decongestant มี pseudoephedrine 30 mg/5 ml

  13. . Long acting antihistamines • Ceterizine 0.25 mg/kg/day PO OD-bid Age 2-6 yr : 2.5 mg bid or 5 mg OD • Age > 6 yr : 5-10 mg OD Zyrtec 10 mg/tab , 5 mg/5 ml syrup • SE : ปากแห้ง ง่วงนอน ปวดหัว • Loratadine ให้ในเด็กอายุ > 2 ปี BW < 30 kg : 5 mg PO OD BW ≥ 30 kg : 10 mg PO OD • Clarityne, lorsedin 10mg/tab, 5 mg/5 ml syrup SE : ง่วงนอน ปวดหัว Prolong QT ได้ถ้าให้ร่วมกับ erythromycin, keto/itraconazole

  14. Decongestants • ลดอาการแน่นคัดจมูกในรายที่มีการบวมของเยื่อบุจมูก ส่วนใหญ่มี adrenergic effect ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ไม่ควรให้ในเด็กอายุ < 3 เดือน การให้ยาชนิดหยดจมูก ไม่ควรให้นานเกิน 3-5 วัน เพราะทำให้เกิด rebound congestion ได้ • 0.25% Ephedrine ป้ายหรือหยดจมูก วันละ 2-4 ครั้ง ไม่ควรใช้นานเกิน 3-5 วัน >>> rhinitis medicamentosa

  15. Expectorants ( ยาขับเสมหะ ) • ช่วยให้เสมหะเหลวมากขึ้น ไอออกง่ายขึ้น • Glyceryl guaiacolate (guaifeesine) 50-100 mg/dose PO tid-qid Robitussin syr. 100 mg/5 ml Therapeutic & toxic range ต่างกันมาก โอกาสเกิดพิษจากยาน้อยมาก • Ammonium carbonate & potassium nitrate 5-10 ml PO tid-qid M.tussis ใช้กับอาหารไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ) ทำให้คลื่นไส้อาเจียน ไม่ควรใช้ในเด็กเล็ก

  16. . Mucolytics ( ยาละลายเสมหะ ) • ออกฤทธิ์ที่ส่วนประกอบของเสมหะโดยตรง ใช้ในรายที่เป็นโรคปอดเรื้อรังหรือเสมหะเหนียวข้นมาก และในรายที่ต้องจำกัดปริมาณน้ำซึ่งใช้ expectorant ไม่ได้ผล Acetylcysteine, carbocysteine, bromhexine, ambroxal • Bromhexine • Age < 2 yr : 1 mg , 2-5 yr : 2 mg • Age 5-10 yr : 4 mg , > 10 yr : 8 mg Bisolvon 8 mg/tab

  17. Cough suppressants • ยากดอาการไอ ส่วนใหญ่เป็นอนุพันธ์ของมอร์ฟีน มีฤทธิ์ต่อระบบประสาท อาจทำให้หยุดหายใจได้ในเด็กเล็ก ไม่ควรใช้ในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง เพราะอาจทำให้เสมหะคั่งค้างในหลอดลมได้ • Codeine Ropect SE : ปากแห้ง , ง่วงซึม ไม่ควรให้ร่วมกับยานอนหลับและระงับประสาทอื่นๆ อาจกดการหายใจได้ Dextromethorphan Romilar SE : ง่วงซึม , คลื่นไส้ อาเจียน , อาจกดการหายใจได้

  18. . GI drugs • Antiemetic drug • Domperidone (motilium) 0.2-0.5mg/kg/dose PO tid-qid ac 5 mg/5 ml syr, 10 mg/tab SE : ง่วงซึม , เวียนศีรษะ , extrapyramidal symptom • Antispasmodic drug • Hyoscine (buscopan) Age < 1 yr : 2.5 mg/dose, 1-6 yr : 5-10 mg/dose Age > 6 yr : 10-20 mg/dose PO tid-qid 0.3-0.6 mg/kg/dose IV,IM q 6-8 hr 5mg/5ml syrup, 10 mg/tab, 20 mg/ml/amp SE : ปากแห้ง , ใจสั่น , ท้องผูก

  19. ผงน้ำตาลเกลือแร่ ( ORS ) • เด็กต่ำกว่า 2 ปี ให้ ORS 50 – 100 มิลลิลิตร (1/4 – 1/2 แก้วน้ำ ) โดยใช้ช้อนป้อนครั้งละ 1 ช้อนชา ทุก 1 – 2 นาที • เด็ก 2 ปี – 10 ปี ให้ ORS 100 – 200 มิลลิลิตร (1/2 – 1 แก้วน้ำ ) ให้ใช้แก้วน้ำโดยกินทีละน้อย บ่อยๆ • เด็ก 10 ปีขึ้นไป ให้ตามต้องการ ซึ่งมากกว่า 1 แก้วขึ้นไป

  20. . GI drugs • Antacid Aluminum hydroxide + magnesium hydroxide (Alum milk) • เด็กเล็ก : 5-15 ml/dose เด็กโต : 15-45 ml/dose PO q 3-6 hr รบกวนการดูดซึมยาอื่น ไม่ควรรับประทานร่วมกับยาอื่นภายในเวลา 1-2 hr • H2 receptor antagonist (Ranitidine) 3-5 mg/kg/day PO bid ( max. 300 mg/day) 0.75-1.5 mg/kg/dose IV q 6-8 hr (max. 400mg/day) • SE : neutropenia, bradycardia, dizziness, headache, vomiting, diarrhea, constipation, pancreatitis, hepatitis, rash

  21. ยาระบาย • Magnesium hydroxide Milk of magnesium • Age < 2 yr : 0.5 ml/kg/day, • 2-5 yr : 5-15 ml/day • 6-12 yr : 15-30 ml/day, > 12 yr : 30-60 ml/day PO OD-bid SE : ปวดท้อง , hypermagnesemia in renal failure

  22. Skin drugs • Antihistamine & antipruriticHydroxyzine (atarax) 1-2 mg/kg/day PO tid-qid 10 mg/tab, 10 mg/5 ml SE : ง่วงซึม • Soothing agent Calamine lotion Calamine + Zinc oxide+Talcum Apply OD- bid ทาผดผื่น • Oral antifungal 0.5% Gentian violet Apply lesion bid Nystatin 1 ml + water 2 ml PO tid – qid • Topical antiparasite 12.5% benzyl benzoate Scabies : apply for 24 hr * 3 days then repeat 3 days later * 3 days Lice : apply hair for 8 hr then repeat 1 wk later

  23. Topical corticosteroids • Mid strength 0.1% Triamcinolone acetonide mild 0.02% Triamcinolone acetonide • 1. ทาบางๆบริเวณที่ต้องการ • 2. ควรทาเพียงวันละ 1-2 ครั้ง หากทาบ่อยๆ อาจมีอาการไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น • 3. ห้ามทายาที่เป็นครีมในบริเวณที่มีแผลเปิด • 4. ห้ามใช้ยาทาในโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อที่ทราบสาเหตุแน่นอนแล้ว เช่นติดเชื้อแบคทีเรีย เป็นต้น

  24. Antimicrobial agents • AminopenicillinAmoxicillin • 30-50 mg/kg/day PO bid-tid 250-500 mg/cap, 125,250 mg/5 ml Rx : URI, sinusitis, pneumonia, animal bite • Antistaphylococcalpenicillin • Cloxacillin 50-200 mg/kg/day IV q 6 hr, PO qid ac 0.5, 1 g inj., 250,500 mg/cap, 125mg/5 ml syrup Dicloxacillin25-50 mg/kg/day PO qid ac 250 mg/cap, 62.5 mg/5 ml syrup Rx : skin & soft tissue infection

  25. Antimicrobial agents • Macrolides Erythromycin • 30-50 mg/kg/day PO tid-qid pc SE : N/V, diarrhea, abdominal cramping Roxithromycin (Rulid) 6-10 mg/kg/day PO bid Rx : URI,pneumonia/atypical pneumonia, enteric fever • Sulfonamides Co-trimoxazole (TMP-SMZ) • 6-12 mg/kg/day PO bid 80 mg TMP/tab, 40 mg TMP/5 ml SE: rash, Stevens-Johnson syndrome ไม่ใช้ใน G6PD def., แพ้ยา sulfa Rx : UTI, infectious diarrhea

  26. Fluoroquinolones Norfloxacin • 15-20 mg/kg/day PO bid 100,200,400 mg/tab Ofloxacin 10-20 mg/kg/day PO bid 100,200,300 mg/tab Rx : UTI, infectious diarrhea • ยาลดไข้ แก้ปวด Paracetamol (acetaminophen) • 10-15 mg/kg/dose PO q 4-6 hr 120 mg/5 ml syr, 325,500 mg/tab ยามีผลต่อตับ

  27. ข้อควรปฏิบัติ เมื่อสงสัยว่าแพ้ยา • 1. หยุดยาที่สงสัยทันที ถ้าใช้ยาอยู่หลายชนิดไม่ทราบว่าแพ้ยาตัวไหน ควรหยุดยาทุกชนิด • 2. นำยาทุกชนิดที่รับประทานไปให้แพทย์หรือเภสัชกร เพื่อวินิจฉัยว่าท่านแพ้ยาอะไร • 3. จดจำและบันทึกชื่อยาและลักษณะอาการที่เกิดจากการแพ้ยาชนิดนั้นไว้ • 4. แจ้งให้แพทย์ทราบทุกครั้งเมื่อจำเป็นต้องใช้ยา • 5. ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง

  28. THANK YOU FOR YOUR ATTENTION

More Related