1 / 33

การตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ

การตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ. ภญ . สิริลักษณ์ รื่นรวย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี. ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้แก่. ยา อาหาร เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย. ปัญหาผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพสวยซ่อนเสี่ยง. 1. พบเครื่องสำอางอันตรายและมีผู้ที่ได้รับความเสียหาย.

hasad
Download Presentation

การตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพการตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภญ.สิริลักษณ์ รื่นรวย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี

  2. ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้แก่ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้แก่ • ยา • อาหาร • เครื่องสำอาง • เครื่องมือแพทย์ • วัตถุอันตราย

  3. ปัญหาผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพสวยซ่อนเสี่ยง 1. พบเครื่องสำอางอันตรายและมีผู้ที่ได้รับความเสียหาย  ครีมหน้าเด้ง ดับสาวเขมร สั่งห้ามขายฝั่งไทย ผิวหน้าดำ เป็นฝ้าถาวร รักษาไม่หาย

  4. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 2. พบการจำหน่ายกาแฟที่มียาลดน้ำหนักผสมยาลดน้ำหนัก

  5. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 2. พบการจำหน่ายกาแฟที่มียาลดน้ำหนักผสมยาลดน้ำหนัก

  6. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 3. ลักลอบจำหน่ายยาลดน้ำหนักโดยไม่ใช่แพทย์

  7. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 4. พบการจำหน่ายบิ๊กอายในร้านชำ/แผงลอย

  8. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 5. พบการจำหน่ายกลูตาไธโอน วิตามินซี ไม่มีอย. เตือนวัยรุ่นไทยที่ฉีดกลูต้าไธโอน หวังให้ผิวขาวเหมือนดาราเกาหลี เสี่ยงตาบอด-มะเร็ง แฉ อย.ไม่เคยรับรอง

  9. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 6. พบการลักลอบจัดฟันแฟชั่นผิดกฎหมาย - จับร้านดัดฟันแฟชั่นกลางเมืองอุดรฯ-ลักลอบเปิดวัยรุ่นแห่ใช้บริการเพียบ - ตำรวจภาค 5 บุกจับร้านดัดฟันแฟชั่นให้นักเรียน นักศึกษา กลางเมืองเชียงใหม่ ตรวจสอบพบไม่ได้มาตรฐาน เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค โดยเปิดเป็นร้านรับดูดวงบังหน้า

  10. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 7. พบการลักลอบฉีดกลูตาไธโอน/วิตามินซี/โบท็อก หมอกระเป๋า

  11. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 8. การเสริมความงามด้วยเทคนิคไอออนโตฯและโฟโนโฟเรสิส • เครื่องไอออนโตโฟเรสิส และเครื่องโฟโนโฟเรสิส เป็นเครื่องมือแพทย์ที่ต้องใช้โดยแพทย์ หรือนักกายภาพบำบัด เนื่องจากมีข้อควรระวัง และข้อห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีโรค หรือมีความผิดปกติของร่างกายมากมาย นอกจากนี้ สถานบริการเสริมความงามหลายแห่งที่มีการนำเทคนิคไอออนโตโฟเรสิสและ • เทคนิคโฟโนโฟเรสิสมาผลักดันเครื่องสำอางเข้าสู่ผิวหนัง มักมีการอวดอ้างโฆษณาเกินจริงโดยจูงใจลูกค้าว่า สามารถทำให้ผิวขาวใส เต่งตึง ลดรอยเหี่ยวย่น มักพบในร้านเสริมสวย

  12. โฆษณาเข็มขัดกระชับสัดส่วนโฆษณาเข็มขัดกระชับสัดส่วน การขออนุญาตกับ อย.หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดโดยข้อบ่งใช้และใช้ประโยชน์ของเข็มขัด คือ • ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อเฉพาะที่หรือทำให้กล้ามเนื้อหดตัวเป็นจังหวะ • เพิ่มการไหลเวียนโลหิตเฉพาะที่ การโฆษณาโดยอ้างสรรพคุณต่าง ๆ เช่น ลดน้ำหนัก ลดไขมัน ขจัดเซลลูไลท์ กระชับสัดส่วน สามารถใช้แทนการออกกำลังกาย อื่น ๆ เป็นการโฆษณาที่โอ้อวด เนื่องจากไม่มีผลการทดลองหรือทดสอบทางคลินิกหรือทางวิทยาศาสตร์ ที่น่าเชื่อถือ อ้างอิง

  13. ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยงปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสวยซ่อนเสี่ยง 8. การโฆษณาโอ้อวดเกินจริง

  14. สิ่งที่ต้องช่วยกันทำ !!! • ตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพสวยซ่อนเสี่ยงและบริการด้านความงามผิดกฎหมาย • ตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณา (ทำงานประจำแต่เน้นผลิตภัณฑ์สุขภาพซ่อนเสี่ยง) ตามแบบฟอร์มในเล่ม beautiful • การรับและตรวจสอบเรื่องร้องเรียน

  15. การตรวจสอบฉลาก เน้นผลิตภัณฑ์สุขภาพสวยซ่อนเสี่ยง

  16. การตรวจสอบฉลากเครื่องสำอางการตรวจสอบฉลากเครื่องสำอาง ฉลากเครื่องสำอางทุกชนิด จะไม่มีเครื่องหมาย อย. แต่ต้องแสดง “เลขที่ใบรับแจ้ง” ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 10 หลัก ดังนี้

  17. ฉลากเครื่องสำอางดูอะไรบ้างฉลากเครื่องสำอางดูอะไรบ้าง

  18. ตัวอย่างฉลากเครื่องสำอางตัวอย่างฉลากเครื่องสำอาง 2.ประเภทหรือชนิดของเครื่องสำอาง 1. ชื่อเครื่องสำอางและชื่อทางการค้า Herbal Shampoo ไพรพฤกษาแชมพู ผสมสมุนไพรมะกรูด (KAFFIRL IME SHAMPOO) มีส่วนผสมของน้ำมะกรูดและกลิ่นมะกรูดตามธรรมชาติ เนื้อครีมเข้มข้น นุ่มละมุนช่วยให้ผมนุ่มสลวยมีน้ำหนัก จัดทรงง่ายทะนุถนอมเส้นผมให้แข็งแรงดูเงางามตามธรรมชาติ วิธีใช้: ชโลมแชมพูพอประมาณลงบนผมที่เปียก ขยี้เบา ๆ ให้ทั่วจนเกิดฟอง แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ควรใช้คู่กับครีมนวดผมผสมสมุนไพรมะกรูด ผลิตโดย: กลุ่มไพรพฤกษา 114/1 หมู่ 8 ต.บ้านไร่ อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี ส่วนประกอบสำคัญ น้ำมะกรูด 75 % Sodium lauryl ether sulfate 10 % Cocaminediethanolamide 5 % Amphoteric surfactants 5 % Acrylate copolymer 5 % ปริมาณสุทธิ 400 มิลลิลิตร ผลิตวันที่ 8 พฤศจิกายน 2554 หมดอายุวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 เลขที่ผลิต 3/2554 ใบรับแจ้งเลขที่ 10-1-5400001 ไพรพฤกษา แชมพู ผสมสมุนไพรมะกรูด เพิ่มความสดชื่นด้วยความมั่นใจในคุณค่าของสมุนไพรไทยจากธรรมชาติ 4.วิธีใช้เครื่องสำอาง 5.ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต 3.ส่วนประกอบสำคัญ คำเตือน: ควรระวังไม่ให้แชมพูเข้าตาอาจทำให้ระคายเคืองตา 6. ปริมาณสุทธิ 10.คำเตือน 8. วันเดือนปีที่ผลิต 9. วันเดือนปีที่หมดอายุ 7. เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต 11. เลขที่ใบรับแจ้ง

  19. การตรวจสอบฉลากอาหาร

  20. ชื่ออาหาร แสดงชื่อสามัญที่ใช้เรียกอาหารตามปกติช่วยให้เราซื้ออาหารได้ตรงตามที่เราต้องการ เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป aa-x- 00000-y- 0000 ฉลากอาหารดูอะไรบ้าง เครื่องหมาย อย. จะมีตัวเลข 13 หลัก ในกรอบเครื่องหมาย อย. แสดงว่าอาหารนั้นได้ผ่านการอนุญาตจาก อย.ซึ่งผ่านขั้นตอนในการตรวจสอบความเหมาะสมของสถานที่ผลิต สถานที่นำเข้า และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ทำให้เราเลือกซื้ออาหารได้อย่างมั่นใจมากขึ้น วันเดือนปีที่ผลิต หรือ วันเดือนปีที่หมดอายุบอกว่าอาหารนั้นมีการผลิตมานานเท่าใด บอกอายุของอาหารให้รู้ว่าอาหารนั้นยังคงปลอดภัยต่อการบริโภคหรือไม่

  21. ส่วนประกอบที่สำคัญ บอกส่วนประกอบเป็นร้อยละ เรียงจากมากไปน้อย ให้รู้ว่ามีส่วนประกอบอะไรในปริมาณเท่าไร สามารถใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบในการเลือกซื้อว่ายี่ห้อใดมีเนื้ออาหารมากว่าและตรงตามที่ต้องการได้ ปริมาณสุทธิ บอกปริมาณอาหารส่วนทีไม่รวมภาชนะบรรจุช่วยให้เราเปรียบเทียบอาหารชนิดเดียวกันได้ คำเตือน อาหารบางอย่างอาจก่อให้เกิดการแพ้หรืออันตรายต่อผู้บริโภค จึงควรระบุคำเตือนไว้อย่างชัดเจน ชื่อและที่ตั้งผู้ผลิต ช่วยให้ทราบว่าใครเป็นผู้ผลิตและผลิตที่ใด กรณีมีปัญหาเกี่ยวกับอาหารนั้น จะสามารถติดต่อสอบถาม หรือร้องเรียนกับ อย. ได้

  22. วิธีปรุงหรือวิธีใช้และวิธีการเก็บรักษาวิธีปรุงหรือวิธีใช้และวิธีการเก็บรักษา อาหารบางชนิดต้องให้ความร้อนตามอุณหภูมิและเวลาที่กำหนดก่อนจึงจะบริโภคได้ และอาหารบางชนิดจะต้องเก็บรักษาที่อุณหภูมิเท่าไรเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา เป็นต้น ฉลากโภชนาการ ข้อมูลในกรอบสี่เหลี่ยมที่จะบอกเราว่าหากเราบริโภคอาหารนั้นตามปริมาณที่ระบุไว้เราจะได้พลังงานและสารอาหารเท่าใด ข้อความแสดงถึงการปรุงแต่ง (ถ้ามีการใช้) เช่น ข้อความ “ใช้วัตถุกันเสีย” “เจือสีธรรมชาติ” “เจือสีสังเคราะห์” ฯลฯ

  23. เครื่องดื่มน้ำใบเตย ส่วนประกอบโดยประมาณ น้ำใบเตย 95% น้ำตาล 5% เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิตู้เย็น ควรบริโภคก่อน 25 เมษายน 2554 ตรา ใบเตยหอม ผลิตโดย กลุ่มชุมชนบ้านใหม่ 75/2 ต.บ้านใหม่ อ. ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 10-1-11149-1-0100 ปริมาณสุทธิ 200 มิลลิลิตร

  24. การตรวจสอบฉลากเครื่องมือแพทย์การตรวจสอบฉลากเครื่องมือแพทย์

  25. การตรวจสอบฉลากเครื่องมือแพทย์การตรวจสอบฉลากเครื่องมือแพทย์ บิ๊กอาย • สังเกตจากฉลากภาษาไทยที่แสดงเครื่องหมาย อย. ที่มีเลขที่ใบอนุญาตเครื่องมือแพทย์และสังเกตรายละเอียดบนฉลาก เช่น การใช้คอนแทคเลนส์ควรได้รับการสั่งใช้และตรวจติดตามทุกปีโดยจักษุแพทย์หรือผู้ประกอบโรคศิลปะโดยอาศัยทัศนมาตรศาสตร์เท่านั้น ค่าสายตา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง รัศมีความโค้งระยะเวลาใช้งาน เช่น “ใช้งานได้ไม่เกิน 1 วัน” และ เดือน ปี ที่หมดอายุ

  26. ตัวอย่างฉลากเลนส์สัมผัสตัวอย่างฉลากเลนส์สัมผัส

  27. ฉลากถุงยางอนามัย • เป็นการแสดงว่าถุงยางอนามัยดังกล่าวได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้วหรือยัง โดยสังเกตข้อความที่แสดง ตามตัวอย่างด้านล่าง ใบอนุญาตเครื่องมือแพทย์ที่ อย. ผ. ../ปี พ.ศ. ในกรณีที่เป็นการผลิตในประเทศ หรือ อย. น…/ปี พ.ศ. ในกรณีที่เป็นการนำเข้า ฯ

  28. ถุงมือสําหรับการตรวจโรคถุงมือสําหรับการตรวจโรค

  29. การตรวจสอบฉลากยา • ยาทุกชนิดจะไม่มีเครื่องหมาย อย. บนฉลาก แต่จะต้องแสดงเลขที่รหัส ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา เช่น ทะเบียนยาเลขที่ 1A 99/46, 2A 91/46 Reg. No. 1C 55/54 เป็นต้น • ยกเว้นยาที่ผลิตโดยหน่วยงาน กระทรวง ทบวง กรม ทีมี่หน้าทีป้องกันหรือบำบัดโรค อาทิ สภากาชาดไทย องค์การเภสัชกรรม กฎหมายยกเว้นให้ไม่ต้องยื่นขอใบอนุญาตการผลิตยาจาก อย. และไม่ต้องขึ้นทะเบียนตำรับยา อาจไม่มีเลขทะเบียนตำรับยาปรากฏบนฉลาก

  30. การตรวจสอบฉลากยา ตัวอักษรที่เลขทะเบียนยา มีความหมายดังต่อไปนี้ เช่น ทะเบียนยาเลขที่ G 70/48 หรือ Reg. No. 70/48 ทะเบียนยาเลขที่ 1 A 9999/46 ยาแผนโบราณ ยาแผนปัจจุบัน

  31. ฉลากยาดูอะไรบ้าง • ชื่อสามัญทางยา หรือส่วนประกอบของยา • วันที่ผลิต วันหมดอายุ • ข้อห้ามใช้ คำเตือน ข้อควรระวัง • เลขทะเบียนตำรับยา ที่แสดงบนฉลาก • ข้อความ ยาอันตราย หรือ ยาควบคุมพิเศษ • ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต/นำสั่ง หรือผู้แทนจำหน่าย

  32. การตรวจสอบฉลากวัตถุอันตรายการตรวจสอบฉลากวัตถุอันตราย

  33. aa-x- 00000-y- 0000 สรุปฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ • สังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ • อาหาร >>>> เครื่องหมาย อย. (เลขสารบบ) • ยา >>>> เลขทะเบียนยา • เครื่องสำอาง >>>> เลขที่ใบรับแจ้ง • เครื่องมือแพทย์ >>>>เครื่องหมาย อย. เครื่องมือแพทย์ • วัตถุอันตราย >>>> เครื่องหมาย อย. วัตถุอันตราย >>>> เลขที่รับแจ้ง xxx/25xx 1 A 9999/46 10-1-53-99999

More Related