1 / 16

สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู. สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู. พระตรีมูรติหรือผู้เป็นเจ้าทั้งสาม มีตัวอักษร ๓ ตัว อันศักดิ์สิทธิ์เรียกกันว่า “ โอม ” ประกอบด้วยอักษร ๓ ตัวคือ “ อะ ” หมายถึง พระวิษณุหรือพระนารายณ์

Download Presentation

สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

  2. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

  3. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระตรีมูรติหรือผู้เป็นเจ้าทั้งสาม มีตัวอักษร ๓ ตัว อันศักดิ์สิทธิ์เรียกกันว่า “โอม” ประกอบด้วยอักษร ๓ ตัวคือ “อะ” หมายถึง พระวิษณุหรือพระนารายณ์ “อุ” หมายถึง พระอิศวรหรือพระศิวะ “มะ” หมายถึง พระพรหม

  4. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • พระพรหม • คัมภีร์พระเวท • มีวิวัฒนาการสืบต่อเนื่องกันมาโดยตลอด

  5. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • อารยัน+ดราวิเดียน – เขตลุ่มน้ำสินธุ

  6. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู วิวัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • สมัยพระเวท • สมัยพราหมณ์(พระพรหม) - ลัทธิตรีมูรติ * พระพรหม (ผู้สร้าง) * พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ (ผู้รักษา) * พระศิวะ หรือพระอิศวร (ผู้ทำลาย)

  7. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 3. สมัยฮินดู แบ่งออกเป็น 6 ลัทธิ (ษัททรรศนะ คือ สางขยะ โยคะ นยายะ ไวเศิกะ ดีบางสา เวทานตะ) * มุ่งสู่ความหลุดพ้น คือ โมกษะ

  8. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โมกษะ การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด (เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา)และมีสภาวะเป็นเอกภาพ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระพรหม

  9. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ปรมาตมัน วิญญาณอันยิ่งใหญ่ เกิดขึ้นเอง เป็นปฐมของวิญญาณ เป็นอมตะ เมื่ออกจากร่างจะไปเกิดใหม่

  10. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู กำหนดคัมภีร์พระเวท • ฤคเวท - สรรเสริญเทพเจ้า • ยชุรเวท - บูชายัญ • สามเวท – เป็นบทร้อยกรอง นำมาจากฤคเวท • อถรรพเวท - เวทมนต์คาถาไสยศาสตร์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์

  11. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู หลักคำสอน เรื่องวรรณะ • วรรณะพราหมณ์ – นักบวช ปุโรหิต ผู้พิพากษา ครู นักปราชญ์ • วรรณะกษัตริย์ – พระเจ้าแผ่นดิน ขุนนาง ทหาร ตำรวจ • แพศย์ – ชาวนา ชาวสวน พ่อค้า • ศูทร – กรรมกรผู้ใช้แรงงาน มีหน้าที่รับใช้วรรณะทั้ง 3 หมายถึง พวกพื้นเมือง ดราวิเดียน หรือมิลักขะ * พวกสมรสข้ามวรรณะ เรียกว่า จัณฑาล มีฐานะต่ำราวกับไม่ใช้มนุษย์

  12. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สมัยฮินดู • การเวียนว่ายตายเกิด- ดวงวิญญาณจะเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุดจนกว่าจะเข้าสู่พรหม • การเข้าสู้พรหม – สะสมความสุขและออกไปบำเพ็ญพรตในป่า • การเวียนว่ายตายเกิดจากกรรมแต่ปางก่อน – ทำดี ไปสู่วรรณะสูง • การสิ้นสุดการเกิดใหม่ของโลก – เป็นหน้าที่ของพระเจ้าผู้สร้าง และพระเจ้าผู้ทำลาย สมัยนี้ได้พัฒนาเข้าสู่ เอกเทวนิยม (พระพรหม) • องค์ประกอบในสันติสุขของโลก *พราหมณ์ * คัมภีร์ *พระเวท • กำหนดให้คนในตระกูลพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ประพฤติตนใน อาศรม 4 อย่างเคร่งครัดมากขึ้น

  13. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อาศรม 4 –ขั้นตอนการดำเนินชีวิตของชาวฮินดู • พรหมจารี – แรกเกิดของชีวิต เล่าเรียน (เกิด-25 ปี) • คฤหัสถ์ – ผู้ครองเรือน (26-50 ปี) • วนปรัสถ์ – ทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ (51-75 ปี) • สันยาสี - การเสียสละชีวิตคฤหัสถ์ออกบวชเพื่อโมกษะสู่ (76 ปี...) ปรมาตมัน (เข้าไปรวมกับวิญญาณอมตะของพระพรหม)

  14. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู หนทางที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น(โมกษะ) • ชญาณโยคะ- ปัญญา • กรรมโยคะ- การกระทำ • ภัทติโยคะ- จงรักภักดีต่อพระเจ้า

  15. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู นิกายในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • นิกายพรหม -นำถือพระพรหม(ผู้สร้าง) • นิกายไศวะ-นับถือพระศิวะหรือพระอิศวร(ผู้สร้างและผู้รักษา) • นิกายไวษณพ -นับถือพระวิษณุหรือพระนารายณ์(ผู้สร้างและผู้ทำลาย • นิกายศากยะ หรือนิกายศักติหรือลัทธิบูชาเทวี – พระอุมาเทวี(ชายาพระศิวะ) พระลักษมีเทวี (ชายาพระวิษณุ) พระสรัสวดีเทวี (ชายาพระพรหม)

  16. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พิธีกรรมที่สำคัญ • พิธีสังสการ- เป็นพิธีประจำบ้าน ( เช่นตั้งชื่อ แต่งงาน) • พิธีศราทธ์- ทำบุญให้แก่ผู้ล่วงรับเป็นพิธีที่สำคัญที่สุด • พิธีบูชาเทวดี (เช่นการสวดมนต์ตอนเช้า เย็น)

More Related