130 likes | 253 Views
ASEAN Cumulative Rules of Origin กฏว่าด้วยแหล่งกำเนิดสะสมของอาเซียน. @ วัตถุดิบที่ผลิตในประเทศสมาชิกอาเซียนมีคุณสมบัติถูกต้องในเรื่องแหล่งกำเนิดอาเซียน (Local content >= 40%)
E N D
ASEAN Cumulative Rules of Origin กฏว่าด้วยแหล่งกำเนิดสะสมของอาเซียน @ วัตถุดิบที่ผลิตในประเทศสมาชิกอาเซียนมีคุณสมบัติถูกต้องในเรื่องแหล่งกำเนิดอาเซียน (Local content >= 40%) @ วัตถุดิบนั้นได้ถูกส่งออกไปอีกประเทศสมาชิกอาเซียน จะได้สิทธิลดอากรขาเข้าที่ร้อยละ 0-5และได้ถูกนำไปผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกไปประเทศสมาชิกอาเซียน @ สินค้าสำเร็จรูปนั้นจะได้สิทธิลดอากรขาเข้าถ้าหากว่ามูลค่าวัตถุดิบและการผลิตอาเซียนสะสมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 40%
ASEAN Cumulative Rules of Origin กฏว่าด้วยแหล่งกำเนิดสะสมของอาเซียน ใหม่ @ วัตถุดิบที่ผลิตในประเทศสมาชิกอาเซียนมีคุณสมบัติถูกต้องในเรื่องแหล่งกำเนิดสะสมอาเซียน (Local content >= 20%) @ วัตถุดิบนั้นได้ถูกส่งออกไปอีกประเทศสมาชิกอาเซียน จะไม่ได้สิทธิลดอากรขาเข้าที่ร้อยละ 0-5แต่ได้ถูกนำไปผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกไปประเทศสมาชิกอาเซียน @ สินค้าสำเร็จรูปนั้นจะได้สิทธิลดอากรขาเข้าถ้าหากว่ามูลค่าวัตถุดิบและการผลิตอาเซียนสะสมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 40%
จีน 80 % 100 % 20 % ถือว่า Local content 20%เป็นศูนย์ (ตามกฏCEPT 40%) NOT-THAILAND ORIGIN Singapore
จีน 80 % 100 % 20 % ถือว่ามี Local content 20% (ได้ตามกฏสะสมใหม่) ราคา 100 บาท NOT-THAILAND ORIGIN For Cumulation Only มี Local content 40.3% (ได้ตามกฏสะสมใหม่) Singapore SG เพิ่ม 34 บาท
ประเทศสมาชิกอาเซียนที่จะใช้แหล่งกำเนิดสะสมใหม่ได้ดีที่สุด คือ • ประเทศที่มีโครงสร้างภาษี MFN ต่ำที่สุด คือ 0% • ประเทศที่มีระบบจัดซื้อจัดจ้างซื้อขายได้คล่องตัวมากที่สุด • ประเทศที่ใช้ระบบ e-business และ e-commerce มากที่สุด • ประเทศที่มีการพัฒนาระบบ Logistic ที่ดีและทันสมัยที่สุด Singapore
Agenda Item 4.9.3ASEAN Cumulative Rules of Origin (CRO) • ที่ประชุม AEM Retreat เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2547 ได้ตระหนักถึงประโยชน์ของ ASEAN ตามข้อเสนอของสิงคโปร์ ในการใช้แหล่งกำเนิดสินค้าอาเซียนแบบสะสมที่ 20% • ที่ประชุมได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่อาวุโสเศรษฐกิจอาเซียน ศึกษาหาวิธีป้องกันการทุจริตแอบอ้างสิทธิ (Circumvention) และการใช้ประโยชน์ดังกล่าว เนื่องจาก ASEAN ไม่มีกฏเกณฑ์ที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับไปหาผู้ผลิตนอกอาเซียนได้
ข้อดีของ CRO • ช่วยเพิ่มปริมาณการค้าใน ASEAN เนื่องจากสามารถนำเอาวัตถุดิบนอก ASEAN [Content ต่ำกว่า 40%] มาใช้ในการผลิตสินค้า และนับเป็น ASEAN Content แบบสะสมได้ • เป็นแนวทางหนึ่งที่สนับสนุนการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) • เปิดโอกาสให้ SME ได้ผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกได้ง่ายขึ้น โดยมีประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นผู้สั่งซื้อสั่งผลิต (OEM)
ข้อเสียของ CRO • ทำให้มีการใช้วัตถุดิบที่ผลิตใน ASEAN โดยรวมลดลง • ไม่สนับสนุนการลงทุนใน ASEAN เนื่องจากสามารถนำเข้า/ซื้อวัตถุดิบจากนอกอาเซียนได้ง่าย (มี ASEAN Content ต่ำ) แล้วส่งไปขายแข่งขันกับสินค้า ASEAN Content 40% ในราคาที่ถูกกว่าได้ • เปิดโอกาสให้ปลอมแปลงแหล่งกำเนิดสินค้าแบบ Circumvention ได้ง่าย เนื่องจากไม่สามารถตรวจสอบเอกสารโยงไปยังประเทศที่สามได้ • เอื้อประโยชน์ให้กับประเทศที่มีอัตราภาษี MFN ต่ำ หรือเท่ากับศูนย์มากกว่าประเทศอื่น กล่าวคือ เวียดนาม ลาว เขมร จะผลิตสินค้า ASEAN Content ระหว่าง 20-40% ซึ่งไม่ได้รับสิทธิลดอากร CEPT แต่ส่งขายให้สิงคโปร์ซึ่งมีภาษี MFN เท่ากับ 0 ทำการผลิตต่อเพื่อเพิ่มมูลค่าได้มากกว่า 40% ก็สามารถส่งออกขายได้ในอัตราภาษี CEPT ผู้ได้ประโยชน์ คือ สิงคโปร์
ท่าทีของไทย • ไทยเป็นประเทศเดียวที่ไม่ยอมรับ CRO มาแต่แรก • เนื่องจากเปิดให้มี Circumvention วัตถุดิบได้ง่าย • ไทยจะเสียประโยชน์ทางการผลิตภาคอุตสาหกรรม • ขณะที่ สิงคโปร์จะได้ประโยชน์ CRO มากที่สุดจาก • การเป็น Trader ทางการค้าและมีอัตราอากรที่ 0% • ไทยได้ยืนยันความเห็นเรื่อง Circumvention ดังกล่าว • ในการประชุม TF-ROO ครั้งที่ 9 CCCA ครั้งที่ 34 และ • ใน SEOM ครั้งที่ 4/35 โดยมีท่าทีไม่สนับสนุน CRO
สถานะปัจจุบัน • ไทยได้พิจารณาทบทวนท่าทีใหม่และรับCROใน • การประชุม SEOM และ AFTA Council ครั้งที่ 18 • เมื่อวันที่ 2-3 กันยายน 2547 • อาเซียนตกลงสัดส่วนขั้นต่ำ (Threshold) ที่ร้อยละ • 20 และให้นำมาใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2548 นาน 1 ปี • แล้ว จึงนำมา Review อีกทีเพื่อหา Threshold ใหม่ • คณะทำงาน Task Force ROO มีการประชุมเรื่อง • CRO เฉพาะภาครัฐเมื่อวันที่ 12-13 ตุลาคม 2547
ประเด็นพิจารณา เพื่อกำหนดท่าทีไทยในการรับ CRO ต่อไป • รับหลักเกณฑ์ของ CRO แต่ให้เสนอ Substantial • Transformation (ST) มาใช้ด้วยเพราะสามารถ • ตรวจหาประเทศต้นตอที่ทำ Circumvention ได้ • 2. ST จะให้ทุกประเทศได้ประโยชน์เท่าเทียมกันหมด • สินค้าไทยที่เข้าข่ายอาจถูกทุ่มตลาดแบบ Circumvention • รถยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า • เครื่องจักรกล เสื้อผ้า ผลิตภัณฑ์อาหาร ยา หนังและรองเท้า
ขณะนี้ASEANLocalContentกำหนดอยู่ที่40%ซึ่งแสดงว่าสามารถนำวัตถุดิบจากประเทศนอกASEANเข้ามาได้เท่ากับ60% ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่สูงพอสมควรแล้ว ดังนั้นถ้ากำหนดThreshold ต่ำๆ เช่น เงื่อนไขสะสม CRO 20% หรือต่ำกว่านี้ ก็เท่ากับว่าเปิดโอกาสให้มีการนำวัตถุดิบจากประเทศนอกASEANถึงร้อยละ 80 เข้ามาขอรับสิทธิการลดภาษีภายใต้สิทธิ AFTA โดยเฉพาะ 95% 20% Outside ASEAN 80% Singapore Outside ASEAN 5%