1 / 12

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล. Corporate Income Tax. สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. หลักการภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) เป็นภาษีทางตรง มาตรา 65 ตรี (6) (2) เป็นภาษีอากรประเมิน มาตรา 14 ประกอบมาตรา 38

hanley
Download Presentation

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล CorporateIncome Tax สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3

  2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. หลักการภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) เป็นภาษีทางตรง มาตรา 65 ตรี (6) (2) เป็นภาษีอากรประเมิน มาตรา 14 ประกอบมาตรา 38 (3) จัดเก็บเป็นรายรอบระเวลาบัญชี (4) โดยทั่วไปจัดเก็บจากำไรสุทธิทางภาษีอากร ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

  3. 2.ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล” ตามมาตรา 39 (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ต่างประเทศ - สาขา - ประกอบกิจการผ่านตัวแทน (3) กิจการที่ดำเนินเป็นทางค้าหรือหากำไรโดย รัฐบาลต่าง ประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ (4) กิจการร่วมค้า (5) มูลนิธิหรือสมาคม – ไทย ที่มิใช่องค์การสาธารณกุศลตาม มาตรา 47(7)(ข) ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. หลักการภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) เป็นภาษีทางตรง มาตรา 65 ตรี (6) (2) เป็นภาษีอากรประเมิน มาตรา 14 ประกอบมาตรา 38 (3) จัดเก็บเป็นรายรอบระเวลาบัญชี (4) โดยทั่วไปจัดเก็บจากำไรสุทธิทางภาษีอากร ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

  4. 3. ฐานภาษีและอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) ฐานกำไรสุทธิ (มาตรา 65) (2) ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ - มาตรา 67 - 3% (ภ.ง.ด.52) - มาตรา 66, 76 ทวิ - 5% (ภ.ง.ด.50) - มาตรา 71(1)(3) – 5% - มูลนิธิ/ สมาคม 10%, 2% (ภ.ง.ด.55) (3) ฐานภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70 – 15%,10% ภ.ง.ด. 54 ส่วน ก (ภาษีเงินได้เสร็จเด็ดขาด) (4) ฐานการจำหน่ายเงินกำไรออกจากประเทศไทย มาตรา 70 ทวิ ภ.ง.ด.54 ส่วน ข

  5. อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ ได้รับ BOI กิจการ In house Training กิจการโรงเรียนเอกชน Y ยกเว้น CIT N Y BIBF, ROH, กิจการค้านำมันกลางทะเล 10% NP Listed Co., ltd SET, MAI 20%,25%,30% NP 30% 25% 15% SMEs 30% NP อื่นๆ

  6. วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลวิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. การเสียภาษีโดยถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย W.T. มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี มาตรา 3 เตรส มาตรา 70 2. การเสียภาษีโดยยื่นรายการประเมินตนเอง ประจำรอบระยะเวลาบัญชี มาตรา 68 68 ทวิ และ 69 ครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี มาตรา 67 ทวิ ในประเทศ - ภ.ง.ด.53 เว้นแต่ 69 ตรี ต่างประเทศ – ภ.ง.ด.54 ส่วน ก 150 วัน ภ.ง.ด.51 ภ.ง.ด.50,52 และ 55

  7. ภ.ง.ด.51 บริษัทจดทะเบียน,สถาบันการเงิน กิจการที่ได้รับอนุมัติให้มี ผู้สอบทานงบการเงิน Y เสียจากกำไรจริง ในรอบ 6 เดือนแรก N กิจการร่วมค้า บริษัท/ห้างฯ ต่างประเทศ บริษัท/ห้างฯ ไทย อื่นๆ เสียจากกึ่งหนึ่งของประมาณการ กำไรสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชี

  8. ภาษีซื้อต้องห้ามกับรายจ่ายต้องห้ามภาษีซื้อต้องห้ามกับรายจ่ายต้องห้าม ภาษีซื้อต้องห้ามที่เป็นรายจ่ายต้องห้าม 1. ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี 2. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่มีรายการไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ตามมาตรา 86/4 3. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับรายจ่าย ต้องห้าม 4. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ที่ไม่มีสิทธิออก ภาษีซื้อที่เครดิตได้แต่ไม่ใช้ = รายจ่ายต้องห้ามด้วย

  9. ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ 1. ภาษีซื้อสำหรับรายการดังต่อไปนี้ - ค่ารับรอง - รถยนต์ หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งรายจ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ดังกล่าว - รายจ่ายหรือทรัพย์สินที่ใช้ในกิจการ Non VAT 2. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 3. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปดังต่อไปนี้ - ที่มีรายการเปลี่ยนแปลงแก้ไข - ที่มิได้จัดทำตามหลักเกณฑ์ - ที่ไม่มีรายการต่อไปนี้ – สาขาที่ออก – เลขทะเบียนรถยนต์ - ที่เป็นผลจากการเฉลี่ยภาษีซื้อของกิจการ Non VAT

More Related