1 / 7

จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก)

ตัวชี้วัดที่ 30.1 ร้อยละของจำนวนวิทยานิพนธ์(ปริญญาโท/ปริญญาเอก)ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับประเทศต่อจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก) มีบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับประเทศ 38 บทความ

hanae-rivas
Download Presentation

จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดที่ 30.1 ร้อยละของจำนวนวิทยานิพนธ์(ปริญญาโท/ปริญญาเอก)ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับประเทศต่อจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน • (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก) • มีบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับประเทศ 38 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท 31 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก 8 บทความ • ทั้งนี้การศึกษาในระดับปริญญาโท มีทั้งแผน ก. และ แผน ข. เฉพาะแผน ก. ที่กำหนดให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ และหลักสูตรส่วนใหญ่มิได้บังคับให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์เป็นเงื่อนไขในการสำเร็จการศึกษา X 100

  2. ตัวชี้วัดที่ 30.2 ร้อยละของจำนวนวิทยานิพนธ์(ปริญญาโท/ปริญญาเอก)ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับนานาชาติต่อจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน • (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก) • มีบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ 65 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท 26 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก 39 บทความ • ทั้งนี้การศึกษาในระดับปริญญาโท มีทั้งแผน ก. และ แผน ข. เฉพาะแผน ก. ที่กำหนดให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ และหลักสูตรส่วนใหญ่มิได้บังคับให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์เป็นเงื่อนไขในการสำเร็จการศึกษา X 100

  3. ตัวชี้วัดที่ 35 ร้อยละของจำนวนอาจารย์และบุคลากรที่เป็นที่ปรึกษา กรรมการวิชาการ วิชาชีพ กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอก ต่อจำนวนอาจารย์ประจำทุกระดับ • ในปีการศึกษา 2547 มีอาจารย์ประจำ 1,263 คน • มีจำนวนการเป็นที่ปรึกษา กรรมการวิชาการ วิชาชีพ 1,015 ชุด กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอก X 100

  4. ตัวชี้วัดที่ 36 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านระบบประกันคุณภาพภายใน สามารถดำเนินการได้ครบทุกขั้นตอน ดังนี้

  5. เปรียบเทียบแผนดำเนินงานกับการดำเนินงานจริง

  6. ตัวชี้วัดที่ 38 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ในปีการศึกษา 2547 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีการจัดกิจกรรมในการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับมหาวิทยาลัย และระดับคณะ/สำนัก/สถาบัน รวม 272 กิจกรรม X 100

  7. กิจกรรมที่สำคัญ ได้แก่ - โครงการโขนธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ชุด “อัครนารีสีดา” - สาธิตปี่พาทย์ประชันวงเชิดชูคุณูปการพระยา เสนาะดุริยางค์ (แช่ม) - โครงการสัมมนาทางวิชาการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ เรื่อง “ความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน” - กิจกรรมของฝ่ายการนักศึกษาที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เช่น พิธีไหว้ครู - กิจกรรมของสำนักเสริมศึกษาและบริการสังคม เช่น การอบรมพระสงฆ์ผู้นำในการพัฒนา สังคมไทยที่ยังยืน ศิลปวัฒนธรรม : ชมวัด ไหว้พระ ฟังธรรม - กิจกรรมของคณะ/สำนัก/สถาบัน เช่น งานสืบสานตำนานศิลป์ - กิจกรรมวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เช่น โครงการจัดทำ ฐานข้อมูลลายผ้าไทยที่มีอายุมากกว่า 50 ปี วิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม เรื่อง “ภูมิปัญญาบูรณาการ บนฐานคิดพุทธปรัชญากับยุทธศาสตร์ ทางเลือกในการพัฒนาสังคม”

More Related