1 / 29

สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหารประเภทข้าว เกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป

สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหารประเภทข้าว เกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป. ภายหลังเติมน้ำสกัดชีวภาพ BE. จุด PB 6 ช่วงสุดท้าย. สภาพที่เปลี่ยนแปลงน้ำทิ้งของ. สภาพน้ำทิ้ง ที่มีไขมัน และแป้ง ณ วันที่ 19 ก.พ. 2550 เวลา 20 นาฬิกา. เช้าวันที่ 20 ก.พ. หรือ 10 ชั่วโมงภายหลังเทน้ำชีวภาพ กลิ่นหายไปมาก.

hanae-rivas
Download Presentation

สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหารประเภทข้าว เกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหารประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัดชีวภาพ BE

  2. จุด PB 6 ช่วงสุดท้าย สภาพที่เปลี่ยนแปลงน้ำทิ้งของ

  3. สภาพน้ำทิ้ง ที่มีไขมัน และแป้ง ณ วันที่ 19 ก.พ. 2550 เวลา 20 นาฬิกา

  4. เช้าวันที่ 20 ก.พ. หรือ 10 ชั่วโมงภายหลังเทน้ำชีวภาพกลิ่นหายไปมาก

  5. เช้าวันที่ 2 ( 21 ก.พ.) แยกชั้นชัดเจน เหลือกลิ่นแป้ง

  6. วันที่ 22 ก.พ. 2550 หรือ 3 วันให้หลังภายหลังเติม BE

  7. วันที่ 23 ก.พ. 2550 หรือ 4 วันให้หลัง

  8. วันที่ 24 ก.พ. 2550 หรือ 5 วันให้หลัง

  9. วันที่ 25 ก.พ. 2550 หรือ 6 วันให้หลัง

  10. วันที่ 26 ก.พ. 2550 หรือ 7 วันให้หลัง ทดลองเขี่ยและกวนดู 7-8 ชม.ให้หลังก็อยู่สภาพในภาพ

  11. วันที่ 27 ก.พ. 2550 หรือ 8 วันให้หลัง

  12. วันที่ 28 ก.พ. 2550 หรือ 9 วันให้หลัง

  13. วันที่ 29 ก.พ. 2550 หรือ 10 วันให้หลัง

  14. วันที่ 6 มีค. 2550 หรือ 16 วันให้หลัง

  15. วันที่ 10 มีค. 2550 หรือ 20 วันให้หลัง • ตักขึ้นผึ่งให้แห้ง สภาพก็ยังอมน้ำมัน

  16. วันที่ 10 มีค. 2550 หรือ 20 วันให้หลัง • ใส่กล่องโฟม เปิดฝากล่อง ผึ่งแดด ส่วนน้ำมันจะแยกออกเกาะเป็นก้อนแข็ง

  17. จุด PB2 ช่วงสุดท้ายสภาพน้ำทิ้งไขมันกับแป้งที่ยังสดอยู่ • เมื่อใส่น้ำชีวภาพ BE ลงไป

  18. สภาพน้ำทิ้งไขมันกับแป้ง เมื่อใส่น้ำชีวภาพลงไป ณ วันที่ 19 ก.พ. 2550 เวลา 20 นาฬิกา

  19. เช้าวันที่ 20 ก.พ. หรือ 10 ชั่วโมงภายหลังเทน้ำชีวภาพน้ำชีวภาพยังค้างอยู่บนผิวหน้า

  20. วันที่ 2 ( 21 ก.พ.) สภาพไขมันเริ่มถูกย่อยสลาย และขึ้นอืด แต่ไม่ส่งกลิ่น

  21. วันที่ 3 (22 ก.พ.) เพิ่มน้ำชีวภาพลงไปจึงเกิดการแยกชั้นและอืด แต่ไม่ส่งกลิ่น

  22. วันที่ 4 (23 ก.พ.) ขึ้นอืดมาก ...จนล้นขวดแต่ไม่ส่งกลิ่น

  23. วันที่ 5(24 ก.พ.) อืดมากขึ้นจนล้นภาชนะต้องเปลี่ยนภาชนะ

  24. วันที่ 6 (25 ก.พ.) เริ่มแยกชั้นใหม่ มีกลิ่นเล็กน้อย

  25. วันที่ 7 (26 ก.พ.) เริ่มแยกชั้นใหม่ มีกลิ่นเล็กน้อย

  26. วันที่ 8 (27 ก.พ.) มีกลิ่นน้อย

  27. วันที่ 8 (28 ก.พ.) มีกลิ่นน้อย

  28. วันที่ 10 (29 ก.พ.) มีกลิ่นน้อย

  29. ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ฉีดพ่นตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ฉีดพ่น • เนื่องจากไขมันจับตัวกันค่อนข้างหนาแน่น คิดว่าถ้ามีอุปกรณ์ ฉีดพ่นลงทางปากบ่อพัก น่าจะเข้าไปในท่อได้ดีขึ้น

More Related