1 / 26

แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงานไทย ใน 32 ตำแหน่งงาน สาขาการท่องเที่ยว

แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงานไทย ใน 32 ตำแหน่งงาน สาขาการท่องเที่ยว. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน. 32 ตำแหน่งงานในสาขาที่พักและการเดินทาง. 1. Front Office 1.1 Front Office Manager 1.2 Front Office Supervisor 1.3 Receptionist 1.4 Telephone Operator 1.5 Bell Boy.

hamish
Download Presentation

แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงานไทย ใน 32 ตำแหน่งงาน สาขาการท่องเที่ยว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการพัฒนาฝีมือแรงงานไทย ใน 32 ตำแหน่งงาน สาขาการท่องเที่ยว กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

  2. 32 ตำแหน่งงานในสาขาที่พักและการเดินทาง

  3. 1.Front Office 1.1 Front Office Manager 1.2 Front Office Supervisor 1.3 Receptionist 1.4 Telephone Operator 1.5 Bell Boy 3. Food Production 3.1 Executive Chef 3.2 Demi Chef 3.3 Commis Chef 3.4 Chef de Partie 3.5 Commis Pastry 3.6 Baker 3.7 Butcher 4. Food and Beverage Service 4.1 F&B Director 4.2 F&B Outlet Manager 4.3 Head Waiter 4.4 Bartender 4.5 Waiter 2. HouseKeeping 2.1 Executive Housekeeper 2.2 Laundry Manager 2.3 Floor Supervisor 2.4 Laundry Attendant 2.5 Room Attendant 2.6 Public Area Cleaner สาขาที่พัก (Hotel Services) : 23 ตำแหน่งงานใน 4 แผนก

  4. การเดินทาง(TravelServices) : 9 ตำแหน่งงานใน 2 สาขา 1. Travel Agencies 1.1 General Manager 1.2 Assistant General Manager 1.3 SeniorTravel Consultant 1.4 Travel Consultant 2. Tour operation 2.1 Product Manager 2.2 Sales and Marketing Manager 2.3 Credit Manager 2.4 Ticketing Manager 2.5 Tour Manager

  5. เป็นการยอมรับคุณสมบัติเพื่ออำนวยความสะดวกในเป็นการยอมรับคุณสมบัติเพื่ออำนวยความสะดวกใน • การเตรียมความพร้อม การเคลื่อนย้าย แรงงานฝีมือเสรีในอาเซียน • การขอใบอนุญาตโดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ รับรองคุณวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ • การเป็นประชาคมอาเซียนมีผลให้แรงงานจากทั้ง 10 ประเทศ มีโอกาสในการแข่งขันและเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศอย่างสูง ประเทศไทยจำเป็นจะต้องพัฒนาแรงงานให้มีสมรรถนะที่สูงสุด ตามที่อาเซียนได้กำหนดไว้ร่วมกัน ที่มา : ข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professionals : ASEAN MRA)

  6. วัตถุประสงค์ของ ASEANMRA • เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในอาเซียน 2. เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practices) ในการสอนและฝึกอบรมบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว โดยใช้สมรรถนะเป็นหลัก (competency-based) ทั้งนี้ เพื่อร่วมมือและเสริมสร้างความสามารถในหมู่สมาชิกอาเซียน

  7. กลไกหลักภายใต้ ASEANMRA • คณะกรรมการวิชาชีพการท่องเที่ยวแห่งชาติ (National Tourism Professional Board : NTPB) • คณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพการท่องเที่ยว (Tourism Professional Certification Board : TPCB) • คณะกรรมการติดตามตรวจสอบวิชาชีพการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Professional Monitoring Committee: ATPMC) ตามข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN MRA) กำหนดให้มีคณะกรรมการ 3 ชุด คือ

  8. แต่ละตำแหน่งต้องมีมาตรฐานสมรรถนะ Competency Standard 3 ด้าน คือ core, generic และ functional ทั้งนี้ การรับรองมาตรฐานสมรรถนะ จะแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ Certificate 2, 3, 4 และ Diploma 1, 2 หน่วยกิต ที่เรียน/อบรม สามารถเทียบโอนระหว่างตำแหน่งงานที่ต่างกันได้

  9. จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่เดินทางเข้าประเทศไทย เดือน มค.-ธค. 55 1. รายงานสถานการณ์ทั่วไป ด้านสาขาการท่องเที่ยว

  10. แนวโน้มรายได้จากการท่องเที่ยวแนวโน้มรายได้จากการท่องเที่ยว ตามแผนฯ 2 ล้านล้านบาท ปี 2555 – 2558e (หน่วย : ล้านล้านบาท) Remark : p = preliminary e = estimate

  11. ประเทศที่มีจำนวนสูงสุด 10 ตลาดแรก นักท่องเที่ยวจีน เดินทางมาประเทศไทย มากที่สุด รองลงมาได้แก่ มาเลเซีย และรัสเซีย

  12. การเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวองค์การการท่องเที่ยว UNWTO ได้พยากรณ์ว่า เมื่อถึงปี พ.ศ.2563จะมีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจำนวน1,600ล้านคน โดยเป็นนักท่องเที่ยว แถบเอเชียแปซิฟิกถึง 400ล้านคน ในจำนวนนั้นส่วนหนึ่งเป็นนักท่องเที่ยวในอาเซียน ประมาณ 160-200ล้านคนภูมิภาคที่มีแนวโน้มเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมคือ ภูมิภาค เอเชียตะวันออก และแปซิฟิค และกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การท่องเที่ยวในแถบอาเซียนยังมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอีกมาก ประเทศสมาชิก อาเซียนหลาย ๆ ประเทศก็เริ่มตื่นตัวและให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มว่าจะมีนักท่องเที่ยว เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศแถบอาเซียนมากขึ้น และยังเป็นการรองรับการก้าวเข้าไปสู่การเป็น AECอย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2558ซึ่งการก้าวเข้าไปสู่การเป็น AECอย่างเต็มรูปแบบนี้จะมีการเปิดเสรีในหลายการท่องเที่ยวด้วย แนวโน้ม สถานสถานการณ์ท่องเที่ยวโลก

  13. 1.1 สถานการณ์พัฒนากำลังคนด้านท่องเที่ยวในปัจจุบัน (ด้านการศึกษาและการพัฒนาแรงงานในสถานประกอบกิจการ) ปัจจุบันมีหน่วยงานภาคการศึกษาและพัฒนาฝีมือแรงงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ให้ความร่วมมือกัน ทั้งในระบบทวิภาคี สหกิจศึกษา การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานทั้งในและนอกสถานประกอบกิจการ ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรมการท่องเที่ยว กระทรวงแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ สมาคมวิชาชีพ สมาคมโรงแรมไทย สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สถานศึกษา มหาวิทยาลัย และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมมือกันดำเนินการพัฒนากำลังคนสาขาการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง แต่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนยังมีลักษณะการดำเนินงานแบบต่างคนต่างทำ ขาดการบูรณาการกันอย่างแท้จริง มีความร่วมมือกันในลักษณะบายพาสแบบจับคู่ระหว่างหน่วยงาน และขาดการเชื่อมโยงกัน ทำให้การพัฒนากำลังคนยังไม่เป็นเอกภาพเท่าที่ควร

  14. 1.2ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน สมาคมโรงแรมไทย ร่วมมือกับ “อาชีวศึกษาทวิภาคี สาขาวิชาการโรงแรม”สอศ. มีข้อตกลงร่วมกันว่า จะร่วมจัดทำหลักสูตรที่ตรงกับความต้องการของสถาน ประกอบการและตรงกับความพร้อมของวิทยาลัยในสังกัด สอศ.จะจับคู่กับโรงแรมใน เครือสมาคมฯ ในการรับนักเรียนตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2 เข้า ฝึกปฏิบัติงาน 2 แผนกขึ้นไป พร้อมจ่ายค่าตอบแทนให้นักเรียนเป็นเงินอย่างน้อย 50% ของค่าแรงขั้นต่ำ พร้อมสวัสดิการพื้นฐานอื่น ๆ อาทิ อาหาร เครื่องแบบ พนักงาน เป็นต้น ที่สำคัญโรงแรมตกลงจะบรรจุนักเรียนเป็นพนักงานประจำเมื่อจบ ระดับ ปวช.แล้ว แต่ทั้งนี้ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินเข้าร่วมโครงการ ไม่มีความ ประพฤติเสียหาย และอยู่ในโครงการทวิภาคีไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียน ปัจจุบันวิทยาลัยในสังกัด สอศ. เปิดสอนการโรงแรมอยู่95 วิทยาลัย มีผู้เรียนประมาณ 11,500 คน ซึ่งมีมาตรฐานสมรรถนะคนทำงานโรงแรม และการ ท่องเที่ยวของอาเซียนออกมา สอศ. ปรับปรุงหลักสูตร และทิศทางการสอน เพื่อให้เด็กไทยมีสมรรถนะอย่างน้อยระดับอาเซียน

  15. 1.3 ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในสาขาโรงแรม โรงแรมมีการขยายตัว 3-5% ต่อปี ทำให้บุคลากรในการทำงานขาดแคลน ซึ่งนักศึกษาจบใหม่สาขาการโรงแรมในแต่ละปีก็มีจำนวนกว่า 10,000 คน แต่เข้าสู่ธุรกิจโรงแรมไม่ถึง 50% ทำให้เกิดวิกฤตในด้านแรงงาน ซึ่งแต่ละโรงแรมก็ได้มีการแก้ปัญหาโดยการจ้างแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงาน ซึ่งบางส่วนก็ผิดกฎหมายและไม่ได้มาตรฐาน และอีกด้านที่ต้องการเน้นคือการพัฒนาด้านภาษา โดยตลาดหลักๆในตอนนี้คือภาษา จีน ญี่ปุ่น เกาหลี รัสเซีย และภาษาบาซ่าก็เป็นอีกภาษาที่สำคัญเพื่อให้เราสามารถขยายตัวในตลาดอาเซียนได้

  16. ตำแหน่งงาน ที่ขาดแคลนแรงงานในสาขาโรงแรม • แผนกต้อนรับ (FrontOffice) • พนักงานต้อนรับ (Receptionist) • แผนกแม่บ้าน(House Keeping) • พนักงานดูแลห้องพัก (Room Attendant) • พนักงานทำความสะอาด (Public Area Cleaner • แผนกอาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage Service) • พนักงานบริกร(Waiter)

  17. 2.1 เชิงปริมาณต่อปี รายงานโรงแรมทั้งประเทศที่จดทะเบียนกับ ก.มหาดไทย ณ เดือน พฤษภาคม 2556 2. ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงาน

  18. 2.1 เชิงปริมาณต่อปี จำนวนห้องพักทั้งประเทศที่เปิดการขาย จาก website 2. ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงาน

  19. 2.2 เชิงคุณภาพ ทักษะ สมรรถนะ ที่แรงงานไทยสาขาที่พัก ท่องเที่ยว จำเป็นต้องพัฒนาโดยเร่งด่วน 1.ทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.ทักษะด้านภาษาอาเซียนและการสื่อสาร 3.ทักษะการทำงานร่วมกับแรงงานต่างชาติรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ Outbound - Inbound 4.ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพื่อรองรับการขยายตัวของระบบ ออนไลน์ด้านการท่องเที่ยว

  20. แผนกต้อนรับ (FrontOffice) • พนักงานต้อนรับ (Receptionist) • หลักสูตร • การรับลงทะเบียนเข้าพัก (Handling Guest Registration)    • การให้การต้อนรับเมื่อแขกมาถึงที่พัก (Welcoming New Arrivals) • การสร้างความประทับใจที่ดี (Creating First Impression) • ภาษาอังกฤษสำหรับงานรับลงทะเบียนเข้าพัก (English for Guest Registration) • การรับข้อร้องเรียนจากแขก (Dealing with Guest Complaints) 3. รายชื่อหลักสูตร รูปแบบการฝึกที่เหมาะสม(แบ่งตามระดับโรงแรม 3-5 ดาว)

  21. แผนกอาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage Service) • พนักงานบริกร(Waiter) • หลักสูตร • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม • ความรู้เกี่ยวกับอาหารและมื้ออาหาร • ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มและการบริการ • ทักษะในการให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม • อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ • รูปแบบการบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3. รายชื่อหลักสูตร รูปแบบการฝึกที่เหมาะสม(แบ่งตามระดับโรงแรม 3-5 ดาว)

  22. แผนกแม่บ้าน(House Keeping) • พนักงานดูแลห้องพัก (Room Attendant) • พนักงานทำความสะอาด (Public Area Cleaner หลักสูตร • ความหมายของงานแม่บ้านโรงแรม • มาตรฐานงานแม่บ้านโรงแรม • หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรในงานแม่บ้านโรงแรม • คุณสมบัติของพนักงานแม่บ้านโรงแรม • การป้องกันอุบัติเหตุ • ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดเพลิงไหม้ • ข้อควรระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย 3. รายชื่อหลักสูตร รูปแบบการฝึกที่เหมาะสม(แบ่งตามระดับโรงแรม 3-5 ดาว)

  23. 4.1 การปรับทัศนคติ ทักษะ แรงงานไทย ให้เป็นแรงงานผีมือ คิดได้ทำเป็นพูดภาษาอาเซียน 4.2 การจัดทำเกณฑ์สมรรถนะและการพัฒนาฝีมือแรงงานที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน โรงแรม 4.3 การจัดตั้งหน่วยทดสอบทักษะฝีมือแรงงานภาคเอกชน สมาคมโรงแรมไทย ขึ้นทะเบียนจัดตั้งเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานด้านการโรงแรม 4. ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์

  24. 4.4 การสนับสนุนด้านสิทธิประโยชน์แก่ภาคเอกชนที่มีความพร้อมและมี การพัฒนากำลังคนอย่างต่อเนื่องชัดเจนและเป็นประโยชน์ต่อแรงงาน ไทยในภาพรวม 4.5 แนวทางความร่วมมือภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลน แรงงาน เนื่องจากปัญหาขาดแคลนแรงงานในภาคบริการเป็นปัญหาสำคัญและมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องเร่งแก้ไข ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ควรร่วมมือกันในระดับพหุภาคี เพื่อศึกษาแผนงานแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงานเพื่อให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพสินค้าบริการและผลิตภาพแรงงาน มุ่งเน้นการใช้แรงงานฝีมือที่มีทักษะสูงร่วมกับกระบวนการผลิตและบริหารจัดการที่ทันสมัย ส่งเสริมการนำ ERP มาใช้ในองค์กรระดับ SMEs และสนับสนุน LE ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เพื่อยกระดับองค์กรต่อไป

  25. มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพภาคบริการ (สำหรับรองรับวิชาชีพการท่องเที่ยวอาเซียน) หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2556 จะดำเนินการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในส่วนที่เหลือ เพื่อให้สอดคล้องกับ 32 สมารรถนะร่วมสำหรับวิชาชีพการท่องเที่ยวอาเซียน

  26. THE END อนุเคราะห์ข้อมูลโดย กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน และสมาคมโรงแรมไทย

More Related