1 / 32

แนวทางการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคหัด ตามโครงการกำจัดหัด

แนวทางการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคหัด ตามโครงการกำจัดหัด. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากรแสนคน ระดับประเทศ มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง

Download Presentation

แนวทางการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคหัด ตามโครงการกำจัดหัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคหัด ตามโครงการกำจัดหัด

  2. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ • มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากรแสนคน ระดับประเทศ • มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง • มีการตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเฉพาะราย • มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

  3. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบันระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

  4. นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) • มีไข้> 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ(Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ • มีน้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วัน ก่อนและหลังผื่นขึ้น

  5. นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture 5

  6. ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

  7. นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ • ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

  8. การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

  9. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ที่มาโรงพยาบาล (1)

  10. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ที่มาโรงพยาบาล (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

  11. การสอบสวนโรค - สอบสวนเฉพาะราย (Individual case investigation) ให้สอบสวนผู้ป่วย สงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) - สอบสวนการระบาด (outbreak investigation)กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย ใช้ทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวน เหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) 11

  12. เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคหัดเกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคหัด • มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน • เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย • ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจMeasles IgM ให้ผลบวก • ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

  13. การเก็บตัวอย่างส่งตรวจการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR 13

  14. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนการระบาดของโรคหัด (1)

  15. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนการระบาดของโรคหัด (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

  16. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  17. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  18. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  19. แบบสอบสวนการระบาด (ME2 form)

  20. ฐานข้อมูลโครงการกำจัดโรคหัดฐานข้อมูลโครงการกำจัดโรคหัด http://www.boe.moph.go.thorhttp://www.eradicationthai.com

  21. การกวาดล้างโรคโปลิโอ

  22. 4 กลวิธีหลักในการกวาดล้างโปลิโอ • Routine immunization อย่างน้อย 3 ครั้งในเด็กต่ำกว่า 1 ปี (รายตำบลไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90) • สามารถค้นหาและรายงานผู้ป่วย AFP ไม่น้อยกว่า 2:100,000 รายต่อปี ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด • สอบสวนโรคภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากพบผู้ป่วย • NID ปีละสองรอบ ช่วง เดือน ธันวาคม และ มกราคม

  23. AFP (Acute Flaccid Paralysis) ความจำเป็นของ AFP surveillance - Polio เป็นโรคที่มีอาการรุนแรงทำให้เสียชีวิต หรือพิการตลอดชีวิต - ผู้ติดเชื้อ polio virusจะมีอาการอ่อนแรงเพียงร้อยละ 1 - ร้อยละ 95-99 ไม่มีอาการ - ถ่ายทอดเชื้อไวรัสได้นาน 4-6 สัปดาห์ - เพาะเชื้อไวรัสจากอุจจาระใช้เวลามากกว่า 14 วัน ต้องตรวจจับผู้ป่วยและควบคุมโรคให้ได้เร็วที่สุด สายเกินไปถ้ารอให้ผู้ป่วยยืนยันโรคโปลิโอ!!

  24. หลักสำคัญในการเฝ้าระวัง AFP - รายงานผู้ป่วย AFP ทุกรายทันทีที่พบ แม้จะหาสาเหตุของอาการอัมพาตได้ก็ตาม (2:100,000 รายต่อปี) - เก็บตัวอย่างอุจจาระทุกรายอย่างถูกต้อง (≥ ร้อยละ 80 ของผู้ป่วย) - อุจจาระ 2 ตัวอย่าง ห่างกันอย่างน้อย 24 ชั่วโมง เก็บภายใน 14 วันหลังเริ่มมีอัมพาต - เพื่อแสดงความไวและความครอบคลุมของระบบเฝ้าระวัง

  25. ขั้นตอนการเฝ้าระวังผู้ป่วย AFP รายงานผู้ป่วย AFP อายุต่ำกว่า 15 ปี ทุกราย ภายใน 24 ชั่วโมง นิยาม คือ ผู้ที่มีอาการอ่อนแรงของแขน ขา ข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างเกิดอย่างรวดเร็ว (ยกเว้น trauma) - เก็บตัวอย่างอุจจาระ 2 อย่าง (8 กรัม) ห่างกันอย่างน้อย 24 ชม. - บันทึกอาการและการตรวจร่างกายลงใน AFP investigation form - สอบสวนโรคในพื้นที่ (AFP3/40) - ควบคุมโรค (รายงานการควบคุมโรค) ORI เฉพาะ OPV 3 เด็ก <1ปี <90% ติดตามผู้ป่วยเมื่อครบ (30) 60 วัน (AFP3/FU/40)

  26. เกณฑ์ชี้วัด AFP surveillance ที่สำคัญ • Non-polio AFP rate ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี อย่างน้อย 2:100,000 ต่อปี • Zero report จากสถานบริการ รายสัปดาห์ มากกว่าร้อยละ 90 ของโรงพยาบาล • ทั้งหมด และสามารถค้นพบผู้ป่วย AFP อย่างน้อย 1 รายจากการทำ Zero report • สอบสวนโรคภายใน 48 ชม. มากกว่าร้อยละ 90 ของผู้ป่วยที่รายงานทั้งหมด • เก็บตัวอย่างอุจจาระถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานทั้งหมด • ตัวอย่างอุจจาระถึงห้องปฏิบัติการภายใน 3 วัน มากกว่าร้อยละ 80 • - ติดตามผู้ป่วยเมื่อครบ 60 วันมากกว่าร้อยละ 80

  27. Active Search AFP วัตถุประสงค์ - การค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก ซึ่งอาจมีการตกค้าง ไม่ได้รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง - เพื่อประเมินและเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยโดยเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่มีการรายงาน หรือต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

  28. Active Search AFP หลักการ - AFP เป็นกลุ่มอาการ (Syndrome) ไม่ใช่โรค - ผู้ป่วย AFP อาจถูกวินิจฉัยเป็นโรคต่างๆ ได้ เช่น Polio myelitis, Transverse myelitis, Hypokalemia, Weakness caused เป็นต้น

  29. Active Search AFP แนวทางการทำ Active search OPD card และ IPD chart ของเด็กต่ำกว่า 15 ปี ตามกลุ่มโรค (ICD 10) ทั้ง 26 โรค ตามช่วงเวลาที่กำหนด ดูรายระเอียดอาการและการตรวจร่างกาย Key words ที่ช่วยในการพิจารณา;hypotonia, muscle weakness, flaccid, motor power < 5, hyporeflexia(DTR < 2+), แขนขาอ่อนแรง แขนขาไม่มีแรง, ขยับแขนขาไม่ได้, เดินเซ, ลุกไม่ได้

  30. กลุ่มอาการ 26 โรค - AFP( G82 G82.0 G82.3) - Acute anterior poliomyelitis(A80) - Acute myelopathy( G95.9) - Guillain-Barresyndrome(G61.0) - Acute demyelinatingneuropathy - Acute axonal neuropathy(G58.0) - Peripheral neuropathy(G62.9) - Acute intermittent porphyria(E80.2) - Critical illness neuropathy(G58) - Myasthenia Gravis(G70) - Botulism (G05.1) - Encephalitis ( G04.8) - Myositis(M60.8) -Insecticide intoxication T60 -Tick paralysis T63.4 -Idiopathic inflammatory myopathyG72.4 -Trichinosis G75 -Hypokalemic, Hyperkalemicparalysis -Traumatic neuritis M79.2 -Transverse myelitisG37.3 -Myalgia(G04) -Weakness (Malaise, Fatigue) R53 -Hemiplegia(G80.2 G81.0) -Myelitis(G04) -Encephalomyelitis(G04.9) -Mitochodrialmyopathy(G71.3)

  31. Active Search AFP แนวทางการทำ Active search พิจารณาการวินิจฉัยสุดท้ายว่าเข้าได้กับกลุ่มอาการ AFP หรือไม่ เมื่อพบผู้ป่วยเข้าได้กับ AFP Onset เกิน 3 เดือน ให้รายงานและติดตามผู้ป่วยรายใหม่ ในพื้นที่นั้นอย่างใกล้ชิด Onset ไม่เกิน 3 เดือนย้อนหลัง ให้รายงานและดำเนินการสอบสวน ควบคุมโรคตามระบบปกติ

  32. ขอบคุณค่ะ

More Related