780 likes | 971 Views
ประชาคมอาเซียน และความท้าทายของผู้บริหาร กศน. ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ ที่ปรึกษาสำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สป.ศธ. ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ประเด็นที่จะกล่าวถึง. 1. การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน # ทิศทางของกระแสโลก
E N D
ประชาคมอาเซียนและความท้าทายของผู้บริหาร กศน. ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ ที่ปรึกษาสำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สป.ศธ. ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นที่จะกล่าวถึง 1. การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน #ทิศทางของกระแสโลก #เป้าหมายหลักของประชาคมอาเซียน #บทบาทของการศึกษา 2. ความท้าทายต่อระบบการศึกษาไทย #การศึกษาโดยรวม #การศึกษานอกโรงเรียน 3.ข้อคิดและความคาดหวังจากผู้บริหารการศึกษายุคใหม่
ทิศทางของกระแสโลก(Globalization)ทิศทางของกระแสโลก(Globalization) • โลกจะขับเคลื่อนโดยกระแสเศรษฐกิจและเทคโนโลยี • โลก(เสมือน)ไร้พรมแดน • ในโลกนี้จะมีตลาดเดียว ฐานการผลิตเดียว • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้เกิดการเชื่อมโยง(Connectivity)ทั่วโลก • Internet, Facebook • CDs DVDs, MP3, • Mobile Phone, Blackberry, etc.
ทิศทางของกระแสโลก(Globalization)ทิศทางของกระแสโลก(Globalization) • ภาษาอังกฤษจะมีความสำคัญมากขึ้น • Internet( 80%ของWebsitesใช้ภาษาอังกฤษ) • การค้าระหว่างประเทศใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก • เพลง, ภาพยนตร์, กีฬา, การศึกษา ใช้ภาษาอังกฤษ • วัฒนธรรมตะวันตก(Anglo-American Culture) จะ แผ่ขยายอย่างรวดเร็ว • เงินตรา, เพลง, ภาพยนตร์, CNN • McDonald, Coca Cola
ลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคตลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคต 1.อิงความรู้และพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (Knowledge-Based, Science-Based Economy) -การเกษตรแผนใหม่ -การแพทย์และสุขภาพ 2. คำนึงถึงความคุ้มค่าของทรัพยากร (Resource- Challenged) และการักษาสิ่งแวดล้อม -การพัฒนาที่ยั่งยืนสิ่งแวดล้อม เงื่อนไขการส่งออก -Reduce; Re-use; Recycle
ลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคตลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคต 3. มีความเชื่อมโยงทั่วโลก(Interdependent Economy) -อีก 30 ปี จีน อินเดีย และญี่ปุ่นจะมี GDP มูลค่า รวมกันเป็น 50%ของ GDP โลก( ปี 2004 มี 18%)-ตำแหน่งงาน 1 ใน 5 จะเกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ --การเติบโตทางธุรกิจจะพึ่งพาตลาดต่างประเทศเป็นหลัก
ลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคตลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคต 4. ครอบคลุมกลุ่มประชากรที่หลากหลาย (Demographically Diverse)-ตลาดโลกมีความหลากหลายทางประชากรและวัฒนธรรม @ในจำนวนประชากรโลก 100 คน แบ่งเป็น เอเชีย 61 อาฟริกา 13 ยุโรป 12 อเมริกา 5 ออสเตรเลีย 1 และอื่น ๆ 8 คน @ในจำนวนนี้ พูดภาษาจีน 22 อังกฤษ 9 และฮินดี 8 คน -การจ้างงานเปิดเป็นระดับโลก
ลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคตลักษณะเด่นของเศรษฐกิจในอนาคต 5.พึ่งพานวัตกรรม (Innovation-Driven) -มีการวิจัยและพัฒนาสินค้าใหม่อย่างกว้างขวางและหลากหลาย -ความได้เปรียบทางธุรกิจขึ้นอยู่กับนวัตกรรม *โทรศัพท์ 3G *Hybrid Car *อุปกรณ์กีฬา *ยารักษาโรค อาหารบำรุงสุขภาพ
เศรษฐกิจที่จะประสบผลสำเร็จเศรษฐกิจที่จะประสบผลสำเร็จ เศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพสูง คนมี ประสิทธิภาพสูง หน่วยงานมี ประสิทธิภาพสูง รัฐบาลมี ประสิทธิภาพสูง
ผลกระทบต่อการศึกษา กระแสโลกาภิวัตน์ เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต ประชากร สังคมและ วัฒนธรรม การศึกษา
ทักษะที่จำเป็นสำหรับระบบเศรษฐกิจโลกทักษะที่จำเป็นสำหรับระบบเศรษฐกิจโลก • ความรู้ (Literacy) ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ความคิดเชิงวิเคราะห์และการพัมนาแบบยั่งยืน • สมรรถนะสากล (Global Competencies) • ภาวะผู้นำและความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย • ความสามารถในการปรับตัวในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง(Adaptability to Change)
Global Knowledge and Skills บริษัทRAND Corporationทำการสำรวจพบว่า นักศึกษาอเมริกันเก่งด้านเทคนิค แต่มีความอ่อนด้อยด้านประสบการณ์ต่างวัฒนธรรมและภาษา ที่บริษัทPrice Waterhouseพบว่ามีคนงานเพียง 6% (1,700 คน) ที่พูดภาต่างประเทศได้
Global Knowledge and Skills • บริษัทMicrosoftมีรายได้จากตลาดต่างประเทศถึง 60% และเพิ่มขึ้นเร็วกว่ารายได้ในอเมริกา • การออกแบบผลิตภัณฑ์จำเป็นต้องใช้พนักงานที่สามารถผสมผสานมิติทางวัฒนธรรมเข้าไปในตัวสินค้าด้วย • ความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมต่างประเทศของพนักงานจึงมีความสำคัญมาก
คุณลักษณะของพนักงานที่บริษัท UPS ต้องการ “พนักงานในฝัน” • มีความรู้เรื่องการค้าต่างประเทศ(Global Trade Literate) • ตระหนักในวัฒนธรรมต่างประเทศ(Foreign Cultures) • รอบรู้หลากหลายภาษา • เชี่ยวชาญในเทคโนโลยี • สามารถบริหารจัดการงานที่ซับซ้อนได้ • มีจริยธรรม(Ethical value)
การลงทุนในGlobal Skills • ภาษา: • นักเรียนในประเทศยุโรปส่วนใหญ่เริ่มเรียนภาษาต่างประเทศในระดับประถมศึกษา • จีนเริ่มสอนภาษาอังกฤษในชั้น ป. 3 • ร้อยละ 25 ของนักเรียนในออสเตรเลียเรียนภาษาเอเชีย
การลงทุนในGlobal Skills • International Benchmarking: • ผู้นำและผู้บริหารการศึกษาของจีนมีประสบการณ์ทางการศึกษาในต่างประเทศ • ครูได้รับการสนับสนุนให้ไปศึกษาหรือทำงานในต่างประเทศ • โรงเรียนได้รับการสนับสนุนให้ติดต่อสัมพันธ์กับโรงเรียนในต่างประเทศ(Sister School Partnerships)
การลงทุนในGlobal Skills • Technology: • ประเทศเกาหลีใต้ สิงคโปร์ และไต้หวัน ได้จัดทำแผนแม่บทที่จะจัดหา High-speed computersให้โรงเรียนเพื่อให้นักเรียนสามารถติดต่อได้ทั่วโลก • Study Abroad: • ในปี 2000 มีนักเรียนอเมริกันเพียง 0.5% ไปศึกษาในต่างประเทศ ในขณะที่นักเรียนฝรั่งเศสและจีนมี 3%ไอแลนด์มี 16% และสิงคโปร์มีถึง30%
ประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทยประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทย • มุมมองของกระแสโลกาภิวัตน์ • บทบาทภาครัฐจะลดลง ต้องปรับตัวและปรับปรุงประสิทธิภาพ • อิทธิพลของทุนนิยมตะวันตกจะมากขึ้น • จะเกิดการแบ่งกลุ่มประเทศ(Globalization Stratification)ในภูมิภาคต่าง ๆของโลก • EU • ASEAN • NAFTA
ประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทยประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทย • ประเด็นเพื่อพิจารณา • รัฐจะผูกขาดการจัดบริการสาธารณะ เช่น การศึกษา ต่อไปอีกหรือ • ประสิทธิภาพของการศึกษาในระบบ และนอกระบบ • บทบาทของรัฐมี 2 แนวทาง คือ • ทำแข่งกับเอกชน(Competitive State) • ส่งเสริมเอกชนเป็นคนทำ(Evaluative State)
ประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทยประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทย • แนวโน้มการบริหารจัดการศึกษาของโลก -Learning Focus มากกว่า Teaching Focus โดยเฉพาะ Lifelong Learning -การบริหารในลักษณะของ Corporatization จะมีมากขึ้น -Privatization:ให้ภาคเอกชนดำเนินการมากขึ้น -Marketization:บริหารงานโดยอาศัยหลักการตลาดมากขึ้น
ประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทยประเด็นสำหรับนักการศึกษาไทย • ทางเลือกของไทย • คุณภาพการศึกษาและการเรียนฟรี 15 ปี • ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร/ขนาดโรงเรียน • การกระจายอำนาจ และการมีส่วนร่วมของชุมชน/ท้องถิ่น • การศึกษาในระบบและการศึกษาตลอดชีวิต (Real Time Education) • การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
อาเซียน: ประชาคมเพื่อประชาชน
จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก (อาเซียน) และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ
เสาหลักความร่วมมือของอาเซียนเสาหลักความร่วมมือของอาเซียน ๑. ด้านการเมืองและความมั่นคง ๒. ด้านเศรษฐกิจ ๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม ๔. ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศภายนอก
เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ เสาการเมือง ความมั่นคง
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงประชาคมการเมืองและความมั่นคง • เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี • ร่วมกันเผชิญหน้าภันคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ • ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล
ประชาคมเศรษฐกิจ • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • ให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน และเงินทุน • พัฒนาฝีมือแรงงาน และให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
ประชาสังคมและวัฒนธรรมประชาสังคมและวัฒนธรรม • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • เสริมสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า
จีน พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : www.thai-canal.com
ASEAN Centrality ASEAN External Relations ASEAN+3 ASEAN EAS ASEAN at the Centre
ASEAN + 3 Japan (ญี่ปุ่น) ROK (เกาหลีใต้) China (จีน)
ประเทศคู่เจรจาของอาเซียนประเทศคู่เจรจาของอาเซียน สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ปากีสถาน(คู่เจรจาเฉพาะด้าน) จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น รัสเซีย สหภาพยุโรป โครงการเพื่อการพัฒนาแห่ง สหประชาชาติ (UNDP)
บทบาทของการศึกษา: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านการเมืองและความมั่นคง • สร้างความเข้าใจและความตระหนักเรื่องกฎบัตรอาเซียน • เน้นประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและสันติภาพในหลักสูตร • เข้าใจและตระหนักในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อ • ประชุมผู้นำโรงเรียน (Southeast Asia School Principals’ Forum) อย่างสม่ำเสมอ
บทบาทของการศึกษา: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านเศรษฐกิจ • พัฒนากรอบทักษะ(Skill Framework) ในแต่ละประเทศ • แลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษา • สนับสนุนการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ (Skilled Labors) • พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
บทบาทของการศึกษา: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านสังคมแลวัฒนธรรม • พัฒนาเนื้อหาสาระร่วมเกี่ยวกับอาเซียนสำหรับโรงเรียน • ให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียน • ให้มีภาษาอาเซียนเป็นวิชาเลือกในโรงเรียน • ส่งเสริมกิจกรรมเยาวชน เช่น การทัศนศึกษา การแลกเปลี่ยน ประกวดสุนทรพจน์ โรงเรียนสีเขียวอาเซียน เฉลิมฉลองวันอาเซียน( 8 สิงหาคม) ร้องเพลงอาเซียน (ASEAN Anthem) • จัดประชุมวิจัยการศึกษาอาเซียน
สรุปผลการสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนสรุปผลการสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำรวจนักศึกษา 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
ถามว่า คุณรู้สึกว่าคุณเป็นประชาชนอาเซียนมากน้อยเพียงใด ตอบว่า มาก ถึง มากที่สุด
ถามว่า โดยทั่วไปคุณคุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนแค่ไหนตอบว่า ค่อนข้างมาก ถึง มาก
ถาม ความรู้เกี่ยวกับวัน/เวลาก่อตั้งอาเซียน
ถาม ความรู้เกี่ยวกับธงอาเซียน
ถามว่า อยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆมากแค่ไหนตอบว่า อยากรู้มาก ถึง มากที่สุด