1 / 29

MAT 231 คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง ( Discrete Mathematics )

MAT 231 คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง ( Discrete Mathematics ). Instructor Info. ผศ.ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ คุณวุฒิ : D.Eng. (Computer Science) E-mail: surasak.mu@spu.ac.th URL: http://csits.spu.ac.th/myhp ห้องพัก: ISIS อาคาร 11 ชั้น 12. ความต่อเนื่องของวิชา หลักสูตร วิทยาการคอมพิวเตอร์.

gyala
Download Presentation

MAT 231 คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง ( Discrete Mathematics )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MAT231คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง(DiscreteMathematics)MAT231คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง(DiscreteMathematics)

  2. Instructor Info. ผศ.ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ • คุณวุฒิ : D.Eng. (Computer Science) • E-mail: surasak.mu@spu.ac.th • URL: http://csits.spu.ac.th/myhp • ห้องพัก: ISIS อาคาร 11 ชั้น 12

  3. ความต่อเนื่องของวิชาหลักสูตร วิทยาการคอมพิวเตอร์ • วิชาบังคับก่อน MAT 115: แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรม 1 • วิชาต่อเนื่อง • CSE221 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี • CSE431 ทฤษฎีการคำนวณ • CSE483 การทวนสอบและการตรวจสอบความสมเหตุสมผล CSE322 วิศวกรรมส่วนชุดคำสั่ง CSE431 ศึกษาก่อน MAT115 CSE221 CSE323 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ MAT231 เรียนร่วม CSE483 CSE331 หลักการภาษาชุดคำสั่ง

  4. ความต่อเนื่องของวิชาหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศฯ • วิชาบังคับก่อน MAT 115: แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรม 1 • วิชาต่อเนื่อง • ICT221 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี • MAT115แคลคูลัสสำหรับวิศกร 1 พื้นฐานการโปรแกรม ICT305 ระบบฐานข้อมูล CSE325 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ICT410 MAT231 MAT115 ICT221 สถาปัตยกรรมการบริการเว็บ ICT421 การเขียนโปรแกรมเกม ICT413 การออกแบบและพัฒนาเกมฯ ICT412 ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ICT430

  5. คำอธิบายรายวิชา • ศึกษากราฟ ต้นไม้ และการค้นหา โดยต้นไม้ทวิภาค วิธีของปริมและดัจคสทรา ตรรกศาสตร์ และการพิสูจน์พีชคณิตแบบบูลีน และวงจรตรรก พีชคณิตของเซ็ต และสายอักขระ กลุ่ม และกลุ่มย่อย แบบชนิดของข้อมูลที่เป็น โครงสร้างพีชคณิต ความสัมพันธ์สมมูล และการแบ่งกั้น สมการผลต่าง และฟังก์ชันปรากฎซ้ำ คณิตศาสตร์สำหรับ เครื่องสถานะจำกัด เครื่องที่มีความจำ และเครื่องทัวริ่ง

  6. การประเมินผล • คะแนนเก็บระหว่างภาค 40 % • รายงาน/การบ้าน 20% • ทดสอบย่อย 20% • สอบกลางภาค 20 % • สอบปลายภาค 40% รวม 100% ข้อแนะนำนักศึกษา 1 นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนอย่างน้อย 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด จึงมีสิทธิ์สอบไล่ 2เข้าเรียนตรงต่อเวลา และแต่งกายสุภาพเรียบร้อยตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3 ศึกษาค้นคว้า และทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ

  7. รูปแบบการเรียนการสอน • การบรรยาย โดยใช้PowerPoint + whiteboard • Lecturenote: เอกสารประกอบการสอน • ตำราหลัก โดย Kenneth H. Rosen Discrete Mathematics And Its Application. Sixth Edition McGraw - Hill, 2007. http://www.mhhe.com/math/advmath/rosen/ • หนังสืออ่านนอกเวลา “คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง”

  8. หัวข้อบทเรียน 1แนะนำวิชา (คำอธิบายรายวิชา โครงการสอน แผนการสอน) ระบบเลขฐาน และการคำนวณ 2 ระบบเลขฐาน และการคำนวณ(ต่อ) 3 ขั้นตอนวิธี(Algorithm) และการเขียนขั้นตอนวิธีโดยใช้รหัสเทียม(PseudoCode) 4 การเติบโตของฟังก์ชั่น( The Growth of Functions ) และการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี 5 ความสัมพันธ์(Relations) การพิสูจน์สมบัติของความสัมพันธ์ และการประยุกต์ใช้ความสัมพันธ์กับปัญหาที่เกี่ยวข้องในกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ 6 ทฤษฎีกราฟ ประเภทต่างๆของกราฟ กราฟถอดแบบ 7 การเชื่อมโยงของกราฟ(graphconnectivity) และกราฟแบบ Euler,Hamilton

  9. หัวข้อบทเรียน 8 การหาระยะทางที่สั้นที่สุด(Short-Path Problems) กราฟระนาบ(Planar Graph) และการให้สีในกราฟ(Graph Coloring) 9 แผนภาพต้นไม้(Treediagram), การค้นหาแบบทวิภาค, การท่องไปให้ทั่วบนแผนภาพต้นไม้ 10 ต้นไม้แบบทอดข้าม(Spanning)และการหาต้นไม้แบบทอดข้ามที่สั้นที่สุด (Minimum Spanning Trees) 11 พีชคณิตบูลีน (Boolean Algebra)และการลดรูปพีชคณิตบูลีน 12 พื้นฐานลอจิกเกต (Logic Gate)และวงจรตรรกเชิงจัดหมู่(Combinational Logic)

  10. ระบบเลขฐานและการคำนวณระบบเลขฐานและการคำนวณ

  11. data ระบบตัวเลข(NumberSystems) จำนวนเต็ม จำนวนจริง ตัวอักษร บูลีน ชนิดข้อมูล (datatypes) อื่นๆ

  12. BasedNumberSystem

  13. การคำนวณเลขฐาน สอง 1 0 10 0 + + + + 1 1 1 0 10 1 11 0 การคำนวณเลขฐาน แปด 7 0 0 1 2 3 + + + + + + 1 0 1 1 1 1 10 0 1 2 3 4

  14. PositionalNumber Binarynumber Decimalnumber 1 2 1 1 0 1 1 1 x 20 = 1 1 x 100 = 1 1 x 21 = 2 2 x 101 = 20 1 x 102 = 100 0 x 22 = 0 1 x 23 = 8 121 11

  15. Signed Magnitudenumber 1 x 24 = 16 1 x 22 = 4 sign bit 1 x 20 = 1 0 0 0 0 1 0 1 0 1 +21 -21 +32 -32 +4 +0 1 0 0 0 1 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 magnitude = 29-1 0 0 0 0 0 0 0 0 0

  16. การแปลงเลขฐาน • แปลงเลขฐาน 10 ---> เลขฐาน 2 • แปลงเลขฐาน 2 ---> เลขฐาน 10 • แปลงเลขฐาน 16 ---> เลขฐาน 2 • แปลงเลขฐาน 16 ---> เลขฐาน 10

  17. แปลงเลขฐาน 10 ---> เลขฐาน 2 • (13)10 --- > ( ? )2 วิธีการ : นำฐานตัวเลขที่ต้องการแปลงไปหารตัวเลขที่ต้องการแปลง 13 1 2 (13)10 = (1101)2 6 2 0 1 2 3 1

  18. แปลงเลขฐาน 2 ---> เลขฐาน 10 • (101101)2 --- > ( ? )10 วิธีการ: หาค่าของตัวเลขใดๆขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นวางอยู่ 5 4 3 2 1 0 ตำแหน่ง ( 1 0 1 1 0 1 )2 =(45)10 8 4 1 32 + + +

  19. แปลงเลขฐาน 16 ---> เลขฐาน 2 • (1F)16 --- > ( ? )2 วิธีการ: แจงเลขฐานสิบหกหนึ่งหลัก ด้วยเลขฐานสองสี่หลัก (0000)2 = 0(0001)2 = 1(0010)2 = 2(0011)2 = 3 (1110)2 = 14(1111)2 = 15 ( 1 F )16 = (0001 1111)2 (1111)2 (0001)2 การแปลเลขฐานแปดไปเป็นเลขฐานสองก็ใช้หลักการเดียวกัน

  20. แปลงเลขฐาน 16 ---> เลขฐาน 10 • (1F)16 --- > ( ? )10 วิธีการ: 1. แปลงเลขฐานสิบหก ไปสู่ เลขฐานสอง 2. แปลงเลขฐานสอง ไปสู่ เลขฐานสิบ ( 1 F )16 => (31)10 => (0001 1111)2 16 + 8 + 4 + 2 + 1

  21. โจทย์ท้ายบท • จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้เข้าสู่เลขฐานที่ต้องการ 1.1 (0705)8 => ฐานสอง 1.2 (3F49)16 => ฐานแปด 1.3 (0132)10 => ฐานสิบหก 1.4 (3A15)16 => ฐานสิบ

  22. การคำนวณนิพจน์ผลต่างด้วยวิธีทำคอมพลีเมนต์การคำนวณนิพจน์ผลต่างด้วยวิธีทำคอมพลีเมนต์ • วัตถุประสงค์ เพื่อลดการใช้วงจรตรรกสำหรับการลบ a – b => c a + (– b) => c ให้ x แทน (-b) เราจะเรียก x ว่าเป็นคอมพลีเมนต์ของ b

  23. 1’s complement & 2’s complementrepresentation 8-bits number

  24. การคำนวณผลต่างของเลขจำนวนเต็มการคำนวณผลต่างของเลขจำนวนเต็ม • EX: จงคำนวณหาค่าผลต่างของ 20 – 15 ด้วยระบบ หนึ่งและสองคอมพรีเมนต์ ในระบบการแทนตัวเลข 8-bits แบบคิดเครื่องหมาย 20 – 15 = 20 + (-15) (1111 0000)2 (15)10 = (0 000 1111)2 1’s complement

  25. 1’s complement computing 20-15 0 001 0100 + + 1 111 0000 0 000 0100 1 +5 + 0 000 0001 0 000 0101 signed bit magnitude

  26. 1 2’s complement computing 20-15 0 001 0100 + + 1 111 0001 0 000 0101 +5 magnitude ทิ้ง sign bit

  27. โจทย์ท้ายบท 2. จงแสดงการคำนวณหาผลต่างของนิพจน์ -5 + 8 บนระบบคอมพิวเตอร์ 8-bit แบบคิดเครื่องหมาย ด้วยวิธีการทำ หนึ่งและสองคอมพลีเมนต์ 3. จงแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ์ของนิพจน์ (4F)16 – (25)8ในระบบการแทนตัวเลขแบบคิดเครื่องหมาย 9-bit , ด้วยวิธีการทำ หนึ่งและสองคอมพลีเมนต์

  28. Quiz-(1) ความรู้เกี่ยวกับเลขฐานและการคำนวณคอมพลีเมนต์ จำนวน 2 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที

  29. Quiz-(1) • (1) จงแสดงวิธีการแปลตัวเลขที่กำหนดให้(ด้านซ้ายมือ) ให้อยู่ในระบบเลขฐานที่ต้องการ (ด้านขวามือ) 1.1 (3B47)16 => ฐานแปด 1.2 (0234)10 => ฐานสิบหก • (2) จงแสดงการคำนวณหาผลต่างของนิพจน์ 12 - 7 บนระบบคอมพิวเตอร์ 8-bit แบบคิดเครื่องหมาย ด้วยวิธีการทำ หนึ่งคอมพลีเมนต์

More Related