1 / 51

การเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ

การเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ. โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชูชาติ เชิงฉลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ. ชื่อรายงานผลงานทางวิชาการ. รายงานผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยใช้.....(ชื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้.....................................

gyala
Download Presentation

การเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนรายงานผลงานทางวิชาการการเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชูชาติ เชิงฉลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ

  2. ชื่อรายงานผลงานทางวิชาการชื่อรายงานผลงานทางวิชาการ รายงานผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยใช้.....(ชื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้..................................... สำหรับนักเรียนชั้น.........โรงเรียน.................

  3. รายงานผล การใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน ประเภทผลิตภัณฑ์/สิ่งประดิษฐ์ * คำนำ * สารบัญ * บทที่ 1 บทนำ * บทที่ 2 การจัดทำนวัตกรรมการเรียนการสอน * บทที่ 3 การดำเนินการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน * บทที่ 4 ผลการดำเนินการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน * บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ * บรรณานุกรม * ภาคผนวก

  4. การเขียนคำนำ • คำนำ ควรมี 3 ส่วนที่มีการเรียบเรียงเป็นข้อความต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • * ส่วนที่ 1 : เกริ่นนำ • หลักการและเหตุผล ความจำเป็นในการใช้ นวัตกรรมการเรียนการสอน • วัตถุประสงค์สำคัญในภาพรวม • * ส่วนที่ 2 : แนวทางการดำเนินงาน • การจัดทำและการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน โดยระบุเฉพาะที่สำคัญ • * ส่วนที่ 3 : สรุป • ความสำเร็จขึ้นในภาพรวม • ขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

  5. การเขียนสารบัญ • แนวทางการเขียนสารบัญ • * หมายเลขหน้า • ควรเป็นระบบตัวเลขทั้งหมด ได้แก่ (1),(2),(3),....1,2,3,.... • * ชื่อบท • ควรพิมพ์ตัวหนาดำและมีหัวข้อเรื่องในแต่ละบท • ควรหลีกเลี่ยงใช้เครื่องหมาย – • * ภาคผนวก • ควรพิมพ์เฉพาะส่วนที่สำคัญและมีความจำเป็นที่จะต้อง ผนวกไว้เท่านั้น

  6. บทที่ 1 บทนำ • * ความสำคัญในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • * วัตถุประสงค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้/ • วัตถุประสงค์วิจัย • * ขอบเขตการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • กลุ่มเป้าหมาย • ด้านเนื้อหา • ด้านเวลา • * สมมติฐานการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ / การวิจัย • * นิยามคำศัพท์เฉพาะ (ถ้ามี) • * ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  7. แนวการเขียนบทที่ 1 บทนำ • ความสำคัญในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • สภาพความคาดหวังหรือสภาพที่พึงประสงค์ • สภาพความเป็นจริงที่ผ่านมา • จุดที่ต้องการพิจารณาจากสภาพความเป็นจริงสู่สภาพความคาดหวัง • นวัตกรรมการเรียนการสอน (ผลิตภัณฑ์/สิ่งประดิษฐ์ และรูปแบบ/ วิธีการ) ที่นำมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • ลงข้อสรุปถึงเหตุผลที่จะต้องพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรม การเรียนการสอน

  8. วัตถุประสงค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัยวัตถุประสงค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัย • * คำสำคัญที่ใช้เขียนวัตถุประสงค์ ได้แก่ เพื่อศึกษา/ • เพื่อเปรียบเทียบ/เพื่อพัฒนา/เพื่อทดลอง ฯลฯ • * เกณฑ์การเขียนวัตถุประสงค์ • ใช้ภาษาง่ายชัดเจนไม่วกวน • เขียนเป็นประโยคบอกเล่า • สามารถหาข้อมูลเพื่อตอบคำถามได้ • เป็นแนวทางในการตั้งสมมติฐาน (ถ้ามี)

  9. ขอบเขตการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัยขอบเขตการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัย • * กลุ่มเป้าหมาย • ระบุเป็นนักเรียน ชั้น รุ่นปีการศึกษา โรงเรียน สังกัด และจำนวน • * ขอบเขตด้านเนื้อหา • ระบุเป็นเนื้อหา หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ • * ขอบเขตด้านเวลา • ระบุระยะเวลาตั้งแต่เริ่มการดำเนินงานจนถึงสิ้นสุด เวลาการดำเนินงาน โดยระบุช่วงเวลาในแต่ละขั้นตอน ของการดำเนินงานด้วย

  10. สมมติฐานในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัย (ถ้ามี) • * ลักษณะสมมติฐาน เป็นข้อความที่เป็นการคาดคะเน • คำตอบตามวัตถุประสงค์ • * เกณฑ์การเขียนสมมติฐาน • ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ • สามารถทดสอบได้ด้วยข้อมูล/หลักฐานต่าง ๆ • ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย และเจาะจง • มีความสมเหตุสมผล

  11. นิยามศัพท์เฉพาะ (ถ้ามี) • เขียนให้ความหมายของคำ กลุ่มคำ ที่เกี่ยวข้อง ให้มีความชัดเจน ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ และเฉพาะเจาะจง สำหรับการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/ การวิจัยครั้งนี้

  12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เขียนเรียงลำดับจากประโยชน์โดยตรงมากที่สุดไปหาน้อย ที่สุด และต่อด้วยประโยชน์โดยอ้อม • เขียนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพัฒนาการจัดการ เรียนรู้/การวิจัย • เขียนขึ้นต้นด้วยคำว่า “ทำให้”“ช่วยให้ได้” “เป็นแนวทาง”

  13. บทที่ 2 การจัดทำนวัตกรรมการเรียนการสอน • (ระบุชื่อนวัตกรรมเป็นชื่อบทให้ชัดเจน) • * แนวคิด/หลักการของการจัดทำนวัตกรรมการเรียนการสอน • (ระบุชื่อนวัตกรรม) • * ทฤษฎีการเรียนรู้ • * ส่วนประกอบของนวัตกรรมการเรียนการสอน • * วิธีการจัดทำนวัตกรรมการเรียนการสอน • ขั้นตอนการสร้าง/การจัดทำนวัตกรรมการเรียนการสอน • * งานศึกษาค้นคว้าและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • นวัตกรรมการเรียนการสอนประเภทผลิตภัณฑ์/สิ่งประดิษฐ์ ที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ • นวัตกรรมการเรียนการสอนประเภทรูปแบบ/วิธีการที่ใช้ควบคู่ กับประเภทผลิตภัณฑ์/สิ่งประดิษฐ์

  14. บทที่ 3 การดำเนินการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน * กลุ่มเป้าหมาย * ระยะเวลาการดำเนินงาน * เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล * การเก็บรวบรวมข้อมูล

  15. แนวทางการเขียน บทที่ 3 การดำเนินการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน • กลุ่มเป้าหมาย • ระบุเป็นนักเรียนชั้น รุ่นปีการศึกษา โรงเรียน สังกัด และจำนวน • รายชื่อนักเรียนกลุ่มเป้าหมายตามลำดับเลขที่ ควร พิมพ์ไว้ในภาคผนวก • ระยะเวลาการดำเนินงาน • ระบุวันที่เริ่มต้นจนถึงวันสุดท้ายของการดำเนินการ ใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน

  16. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล • ระบุรูปแบบ/วิธีการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน • ระบุแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการเรียน การสอน มีชื่อแผนอะไรบ้าง จำนวนกี่แผน และใช้จัด การเรียนรู้เมื่อใด อาจจัดพิมพ์เป็นตารางแสดรายละเอียด ให้ชัดเจน • ระบุชื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน คืออะไร จำนวนเท่าไร • ระบุชื่อเครื่องมือวัดผลมีอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด

  17. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ระบุวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนอะไรบ้าง โดยใช้ เครื่องมืออะไร อย่างไร เมื่อใด • ระบุวิธีการจัดกระทำข้อมูล จะใช้วิธีการทางสถิติอย่างง่ายๆ อะไร อย่างไร โดยคำนึงถึงความสอดคล้อง หรือ การ แสดงผลตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/ การวิจัย

  18. บทที่ 4 ผลการดำเนินการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน (ระบุชื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนเป็นชื่อบทให้ชัดเจน) * การวิเคราะห์ข้อมูล * ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

  19. แนวการเขียน บทที่ 4 ผลการดำเนินการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน • การวิเคราะห์ข้อมูล • ระบุวิธีการ/ขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับ โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัย

  20. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล • ระบุผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัย • โดยใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนประเภท • ผลิตภัณฑ์/สิ่งประดิษฐ์ ควบคู่กับประเภท • รูปแบบ/วิธีการ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ • อาจจัดพิมพ์เป็นตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล • ระบุความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการใช้นวัตกรรม • การเรียนการสอน • ระบุผลกระทบที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ครูผู้สอน • และผู้ที่เกี่ยวข้องตามสภาพจริง ซึ่งเป็นผลดี • ต่อการมองภาพรวมได้กระจ่างชัดยิ่งขึ้น • เพิ่มเติมการอภิปรายผลและข้อสังเกตบางประการด้วย

  21. บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ * สรุปผลการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน * ข้อเสนอแนะ

  22. แนวการเขียน บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ • สรุปผลการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน • ระบุผลสรุปที่สำคัญ เพื่อแสดงผลหรือคำตอบตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาการจัดการเรียนรู้/การวิจัยที่กำหนดไว้ตามลำดับ • ระบุผลสรุปการอภิปรายผลและข้อสังเกตบางประการที่สั้นและกระชับ

  23. ข้อเสนอแนะ • ระบุสิ่งที่ควรคำนึงถึงจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนประเภทผลิตภัณฑ์/สิ่งประดิษฐ์ ควบคู่กับประเภทรูปแบบ/วิธีการ • ระบุสิ่งที่ควรดำเนินการต่อเนื่องอะไรบ้าง อย่างไร จึงจะเกิดผลดีที่สุด

  24. แนวการเขียนภาคผนวก • * รายชื่อนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย • เรียงลำดับเลขที่ เพราะการแสดงผลในการเก็บรวบรวมข้อมูล • และการวิเคราะห์ข้อมูล จะใส่เฉพาะเลขที่ ไม่ได้ใส่ชื่อนักเรียน • ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย • * ข้อมูล/รายละเอียด/ตารางแสดงการรวมข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล • * ตัวอย่างนวัตกรรมการเรียนการสอน/เครื่องมือ/รายละเอียดของ • นวัตกรรมการเรียนการสอน

  25. แนวการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงแนวการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิง ผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ (ครั้งที่พิมพ์). ชื่อชุดหรือลำดับที่เอกสาร. สถานที่พิมพ์ : สำนักพิมพ์. นันทา วิทวุฒิศักดิ์. (2540). สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า (พิมพ์ครั้ง 3 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร : ดีดีบุ๊คสโตร์. (นันทา วิทวุฒิศักดิ์. 2540, หน้า 53)

  26. ผู้แต่งตั้งแต่ 6 คน สำอาง ดำเนินสวัสดิ์, พันทิพา หลาบเลิศบุญ, ขัณธีชัย วชิเกียรติ, ประสบการณ์ กมลยะบุตร, พรพิณย์ ศิริสมบูรณ์เวช, วิศิลย์ศยา รุดดิษฐ์ และสุพัตรา ธงชัย. (2546). หนังสือสาระการเรียนรู้ พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. (สำอาง ดำเนินสวัสดิ์ และคนอื่นๆ, 2546, หน้า 43)

  27. วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์ สุพัตรา ศิริรักษ์. (2540). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ความสามารถในการแก้ปัญหาและบุคลิกภาพประชาธิปไตย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินรวิโรฒ ประสานมิตร. (สุพัตรา ศิริรักษ์, 2540, หน้า 25)

  28. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ วรางคณา สว่างตระกูล. (2539). การศึกษาภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อ ของคนไทยในกรุงเทพมหานคร. (ออนไลน์). วิทยานิพนธ์ ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2540, จากhttp://www.erri.tu.co.th/recearch/html/39IJ0030.htm (วรางคณา สว่างตระกูล, 2539)

  29. การพิมพ์เอกสารทางวิชาการการพิมพ์เอกสารทางวิชาการ กระดาษที่ใช้การพิมพ์ กระดาษ 80 แกรม A4 สีขาวไม่มีเส้น ระบบการพิมพ์ พิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอักษร Angsana New หรือ AngsanaUPC พิมพ์สองหน้า

  30. ขนาดตัวอักษร ตัวอักษรพิมพ์ข้อความทั่วไป ตัวอักษรสีดำและเป็นแบบเดียวกันทั้งเล่ม ขนาด 16 พอยต์ ตัวอักษรพิมพ์ ชื่อบท สารบัญเรื่อง สารบัญตาราง สารบัญภาพ บรรณานุกรม ภาคผนวก ขนาด 22 พอยต์ ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์ บทที่ ขนาด 20 พอยต์ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์หัวข้อสำคัญ ขนาด 18 พอยต์ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์หัวข้อรอง ขนาด 16 พอยต์ตัวหนา

  31. การเว้นบรรทัด ขอบบน เว้น 1.5 นิ้ว ขอบล่าง เว้น 1 นิ้ว หน้าคี่ (เผื่อเข้าเล่ม) ด้านขวา เว้น 1 นิ้ว ด้านซ้าย เว้น 1.5 นิ้ว หน้าคู่ (เผื่อเข้าเล่ม) ด้านขวา เว้น 1.5 นิ้ว ด้านซ้าย เว้น 1 นิ้ว

  32. การเว้นระยะ ระหว่างบรรทัด เว้น 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์เดียว การย่อหน้า เว้นระยะ 8 ช่วงตัวอักษร เพิ่มตัวอักษรที่ 9 ย่อหน้าถัดไป ขยับออกไป 2 ช่วงตัวอักษร

  33. การลำดับหน้า ปกในใบรองปก ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้า สารบัญเรื่องและสารบัญอื่นๆ พิมพ์เลขหน้าในวงเล็บ (1), (2), (3) ........ การนับหน้า เริ่มตัวบทที่ 1 เป็นต้นไป การพิมพ์เลขหน้า ด้านล่างกลางหน้ากระดาษ ใช้ตัวเลขอารบิก ล่างจากขอบล่างครึ่งนิ้ว การขึ้นบทใหม่ หน้าที่มีเลขคี่ทุกครั้ง

  34. แนวการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงแนวการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิง ผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ (ครั้งที่พิมพ์). ชื่อชุดหรือลำดับที่เอกสาร. สถานที่พิมพ์ : สำนักพิมพ์. นันทา วิทวุฒิศักดิ์. (2540). สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า (พิมพ์ครั้ง 3 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร : ดีดีบุ๊คสโตร์. (นันทา วิทวุฒิศักดิ์. 2540, หน้า 53)

  35. ผู้แต่งตั้งแต่ 6 คน สำอาง ดำเนินสวัสดิ์, พันทิพา หลาบเลิศบุญ, ขัณธีชัย วชิเกียรติ, ประสบการณ์ กมลยะบุตร, พรพิณย์ ศิริสมบูรณ์เวช, วิศิลย์ศยา รุดดิษฐ์ และสุพัตรา ธงชัย. (2546). หนังสือสาระการเรียนรู้ พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. (สำอาง ดำเนินสวัสดิ์ และคนอื่นๆ, 2546, หน้า 43)

  36. วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์ สุพัตรา ศิริรักษ์. (2540). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ความสามารถในการแก้ปัญหาและบุคลิกภาพประชาธิปไตย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินรวิโรฒ ประสานมิตร. (สุพัตรา ศิริรักษ์, 2540, หน้า 25)

  37. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ วรางคณา สว่างตระกูล. (2539). การศึกษาภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อ ของคนไทยในกรุงเทพมหานคร. (ออนไลน์). วิทยานิพนธ์ ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2540, จากhttp://www.erri.tu.co.th/recearch/html/39IJ0030.htm (วรางคณา สว่างตระกูล, 2539)

  38. การพิมพ์เอกสารทางวิชาการการพิมพ์เอกสารทางวิชาการ กระดาษที่ใช้การพิมพ์ กระดาษ 80 แกรม A4 สีขาวไม่มีเส้น ระบบการพิมพ์ พิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอักษร Angsana New หรือ AngsanaUPC พิมพ์สองหน้า

  39. ขนาดตัวอักษร ตัวอักษรพิมพ์ข้อความทั่วไป ตัวอักษรสีดำและเป็นแบบเดียวกันทั้งเล่ม ขนาด 16 พอยต์ ตัวอักษรพิมพ์ ชื่อบท สารบัญเรื่อง สารบัญตาราง สารบัญภาพ บรรณานุกรม ภาคผนวก ขนาด 22 พอยต์ ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์ บทที่ ขนาด 20 พอยต์ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์หัวข้อสำคัญ ขนาด 18 พอยต์ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์หัวข้อรอง ขนาด 16 พอยต์ตัวหนา

  40. การเว้นบรรทัด ขอบบน เว้น 1.5 นิ้ว ขอบล่าง เว้น 1 นิ้ว หน้าคี่ (เผื่อเข้าเล่ม) ด้านขวา เว้น 1 นิ้ว ด้านซ้าย เว้น 1.5 นิ้ว หน้าคู่ (เผื่อเข้าเล่ม) ด้านขวา เว้น 1.5 นิ้ว ด้านซ้าย เว้น 1 นิ้ว

  41. การเว้นระยะ ระหว่างบรรทัด เว้น 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์เดียว การย่อหน้า เว้นระยะ 8 ช่วงตัวอักษร เพิ่มตัวอักษรที่ 9 ย่อหน้าถัดไป ขยับออกไป 2 ช่วงตัวอักษร

  42. การลำดับหน้า ปกในใบรองปก ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้า สารบัญเรื่องและสารบัญอื่นๆ พิมพ์เลขหน้าในวงเล็บ (1), (2), (3) ........ การนับหน้า เริ่มตัวบทที่ 1 เป็นต้นไป การพิมพ์เลขหน้า ด้านล่างกลางหน้ากระดาษ ใช้ตัวเลขอารบิก ล่างจากขอบล่างครึ่งนิ้ว การขึ้นบทใหม่ หน้าที่มีเลขคี่ทุกครั้ง

  43. ตัวอย่าง การออกแบบการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ หัวข้อวิจัย: การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุด การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้น..........โรงเรียน.........

  44. ตัวอย่าง การออกแบบการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มเดี่ยว (OneGroup Pretest Posttest Design)

  45. นวัตกรรมการเรียนการสอนนวัตกรรมการเรียนการสอน • ชุดการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย • เอกสารประกอบการเรียน • ใบงาน/ใบกิจกรรม • แบบฝึก/ชุดฝึกทักษะ • สื่อเสริมการเรียนรู้ (ถ้ามี) • เครื่องมือวัดผลระหว่างเรียนรู้ • แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนอาจใช้ • เป็นแบบคู่ขนาน

  46. นวัตกรรมการเรียนการสอนนวัตกรรมการเรียนการสอน • แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการจัดการเรียนรู้ • ควรเลือกรูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม • กับการใช้ชุดการจัดการเรียนรู้

  47. วัตถุประสงค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วัตถุประสงค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการจัดการเรียนรู้ • เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนรู้โดยใช้ • ชุดการจัดการเรียนรู้ • เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนรู้โดยใช้ • ชุดการเรียนรู้

  48. ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ • สูตร = • = คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน • N = จำนวนนักเรียนของกลุ่มเป้าหมาย • B = คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน

  49. การหาประสิทธิภาพของชุดการจัดการเรียนรู้การหาประสิทธิภาพของชุดการจัดการเรียนรู้ • เกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ • โดยใช้เกณฑ์ เท่ากับ 80/80 • เป็นประสิทธิภาพของกระบวนการ • สูตร • คือ คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติ • N คือ จำนวนนักเรียนของกลุ่มเป้าหมาย • A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติ

  50. การศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนรู้การศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ โดยใช้ชุดการจัดการเรียนรู้ สูตร ร้อยละความก้าวหน้าในการเรียนรู้ = คือ ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมในการทดสอบ ก่อนเรียน คือ ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมในการทดสอบ หลังเรียน เกณฑ์ ร้อยละความก้าวหน้าในการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ ตั้งแต่ร้อยละ 25 ขึ้นไป

More Related