140 likes | 324 Views
ระบบเตือนการนัด หมาย ทาง การแพทย์. ข้อมูลผู้จัดทำ. หัวข้อโครงงาน ระบบเตือนการนัดหมายทางการแพทย์ นิสิต นางสาวอรวี ทิพยางกูร อาจารย์ที่ปรึกษา นายประจักษ์ จิตเงินมะดัน ระดับการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
E N D
ระบบเตือนการนัดหมายทางการแพทย์ระบบเตือนการนัดหมายทางการแพทย์
ข้อมูลผู้จัดทำ • หัวข้อโครงงาน ระบบเตือนการนัดหมายทางการแพทย์ • นิสิต นางสาวอรวี ทิพยางกูร • อาจารย์ที่ปรึกษา นายประจักษ์ จิตเงินมะดัน • ระดับการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ • ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา • ปีการศึกษา 2556
Overview • ที่มาของปัญหา • วัตถุประสงค์ของโครงงาน • แนวทางพัฒนาโครงการ • ขอบเขตของโครงงาน • ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ • ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน • เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน • อ้างอิง
1.ที่เป็นมาและความสำคัญของปัญหา1.ที่เป็นมาและความสำคัญของปัญหา • การนัดหมายจากแพทย์ • เพื่อมาตรวจซ้ำเพื่อดูอาการ รับผลตรวจ หรือ รับยาฯลฯ • ในบางการรักษา มีการนัดหมายเป็นประจำ ทุกเดือน หรือทุกสัปดาห์ • ช่องทางการนัดหมายที่พบบ่อยคือ ใบนัด • อุปสรรคสำคัญที่ทำให้การนัดหมายเกิดการผิดพลาดและล้มเหลว มาจากหลายสาเหตุ • ใบนัดหาย • ผู้ป่วยลืมวันเวลานัดหมาย • จำวันนัดหมายผิด • ผู้ป่วยไม่ว่าง หรือ ติดธุรกระทันหัน
1.ที่เป็นมาและความสำคัญของปัญหา(ต่อ)1.ที่เป็นมาและความสำคัญของปัญหา(ต่อ) • เกิดผลกระทบต่อการบริหารจัดการและดำเนินงาน ของแพทย์และเจ้าหน้าที่ การนัดหมายของผู้ป่วยรายอื่นๆ • จากปัญหาข้างต้น จึงมีการใช้ประโยชน์ของ ปฎิทินการนัดหมาย และการแจ้งเตือนด้วยข้อความสั้น เข้ามาช่วยแก้ปัญหา • จะช่วยให้แพทย์และผู้ป่วยสามารถติดต่อสื่อสารกันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ช่วยแก้ปัญหาความล้มเหลวในการนัดหมายได้ • ช่วยในการบริหารจัดการกิจกรรมต่างๆระหว่างแพทย์และผู้ป่วยได้ดีขึ้น
2.วัตถุประสงค์ของโครงงาน2.วัตถุประสงค์ของโครงงาน • เพื่อลดการผิดพลาดในการนัดหมาย • เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายและความแม่นยำด้านการติดต่อสื่สารในการนัดหมาย
3.ขอบเขตในการทำโครงงาน3.ขอบเขตในการทำโครงงาน • สามารถแจ้งการนัดหมายที่เกิดขึ้นให้กับผู้ป่วยที่ถูกนัดหมายได้ ผ่านทางบริการข้อความสั้นและอีเมล • สามารถเตือนการนัดหมายล่วงหน้าก่อนถึงเวลานัดหมายได้ ผ่านทางบริการข้อความสั้นและอีเมล • ผู้ป่วยหมายสามารถแจ้งยกเลิกการนัดหมายได้ ผ่านทางบริการข้อความสั้นและอีเมล • เจ้าหน้าที่และหมอสามารถจัดตารางการนัดหมาย หรือ เลื่อน เพิ่ม ลบ แก้ไขตารางนัดหมายได้
4.แนวทางการพัฒนาโครงงาน4.แนวทางการพัฒนาโครงงาน • ศึกษารวบรวมฐานข้อมูลการให้บริการการรักษา • ศึกษาเครื่องมือในการให้บริการข้อความสั้นและอีเมล • การวิเคราะห์ระบบและการกาหนดความสามารถของระบบ • การออกแบบโครงสร้างโดยรวมของระบบตารางนัดหมาย • การออกแบบการทางานย่อยและส่วนติดต่อผู้ใช้งาน • ดำเนินการพัฒนาตารางนัดหมายและการแจ้งเตือน • ทดสอบปรับปรุงและแก้ไข
5.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ5.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผู้ป่วยมาตามการนัดหมายได้ตรงเวลา ความผิดพลาดในการนัดหมายดน้อยลง • ผู้ป่วยมีความสะดวกสบายในการติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าที่และมาตรงตามนัดหมายมากขึ้น
6.ทรัพยากรที่ใช้ในการทำโครงงาน6.ทรัพยากรที่ใช้ในการทำโครงงาน • ด้านฮาร์ดแวร์ • เครื่องคอมพิวเตอร์ (Personal Computer) • หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) • หน่วยความจำหลักขนาด (RAM) • สื่อบันทึกข้อมูลหลัก (Hard Disk)
6.ทรัพยากรที่ใช้ในการทำโครงงาน (ต่อ) • ซอฟต์แวร์ • โปรแกรม phpMyAdminในการจัดการฐานข้อมูล MySQL • Gmail • google.com/calendar • ฐานข้อมูล MySQL • โปรแกรม Nodepad ++ • โปรแกรม Appserv2.5.10
7.เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน7.เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
8.อ้างอิง • http://goo.gl/iCjJwP • http://www.ecampaign101.com/sms-product.php • http://www.trio4u.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538693173 • https://docs.google.com/document/d/1kUMD_7bdSawAUSHOMimA1EYi1t9OM7kXjhtFouJY538/edit • http://office.microsoft.com/th-th/outlook-help/HA010167495.aspx