1 / 30

บทที่ 3 การรับรู้แสง

บทที่ 3 การรับรู้แสง. ตัวรับรู้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั่วๆไป. ตัวรับรู้เชิงความร้อน เทอร์โมคัปเปิ้ล เทอร์โมไพล์ ( Thermocouples and Thermopiles ) โบโลมีเตอร์ และเทอร์มิสเตอร์ ( Bolometer and Thermistors ) ไพโรอิเล็กตริก ( Pyroelectric ) อื่นๆ Golay cell ตัวรับรู้เชิงควอนตัม

gur
Download Presentation

บทที่ 3 การรับรู้แสง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 การรับรู้แสง ตัวรับรู้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั่วๆไป • ตัวรับรู้เชิงความร้อน • เทอร์โมคัปเปิ้ล เทอร์โมไพล์ (Thermocouples and Thermopiles) • โบโลมีเตอร์ และเทอร์มิสเตอร์ (Bolometer and Thermistors) • ไพโรอิเล็กตริก (Pyroelectric) • อื่นๆ Golay cell • ตัวรับรู้เชิงควอนตัม • ตัวรับรู้แบบปลดปล่อยอิเล็กตรอน( Photoemissive) (phototube photomultiplier tube) • ตัวรับรู้เชิงการนำไฟฟ้า(Photoconductive) • ตัวรับรู้เชิงแรงเคลื่อนไฟฟ้า( Photo voltaic )

  2. โบโลมิเตอร์ Bolometer • ตรวจวัดEMW ที่มีความยาวคลื่นในย่าน far-IR เป็นหลัก • แสงจะทำให้วัสดุดูดกลืน มีอุณหภูมิ สูงขึ้น และ ทำให้ความต้านทานเพิ่มขึ้น ความเข้มแสงที่วัด http://bolo.berkeley.edu/bolometers/introduction.html

  3. hf Photo e- Photo tube ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก Photo current i Ammeter Anode 3I0 2I0 Photo cathode I0 Voltmeter V V -Vหยุดยั้ง As a detector , i >0 เมื่อ 1. V < -V หยุดยั้ง 2. fแสง > foหรือ lแสง < lo ( Photo current  photon rate )

  4. Photo multiplier tube เป็น Photo tube ที่มี dynode ช่วยทวีคูณจำนวนโฟโตอิเล็กตรอน Last dynode Vacuum terminal Anode Electron multiplier (dynoes) Photo cathode

  5. ลักษณะสำคัญ 1. linearity , Stability ดีมาก 2. การตอบสนองต่อแสงขึ้นกับชนิดวัสดุที่ใช้เป็น photocathode 3. สามารถให้สัญญาณในแบบ single photon 3. เหมาะปริมาณแสงระดับต่ำมาก 4. ต้องการอุปกรณ์จ่ายไฟฟ้าแรงสูง และอุปกรณ์ขยายสัญญาณที่ซับซ้อน 4. หาซื้อยาก ราคาแพง

  6. Forward bias Reverse bias + + p n A K รอยต่อ P-N i diode i0  10-9A V -diode -solarcell -LED n-ideality factor Shockly diode I-V equation

  7. photon ith-iop - + iop ความเข้มแสง (I) รอยต่อ P-N ขณะรับแสง p n i W R e V I=0 (มืดสนิท) I1 I2 I3 I3> I2>I1

  8. - + V การใช้งานรอยต่อ P-N เป็น Photodetector i • 1. Photovoltaic mode : • รอยต่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า(โซล่าเซล) • วัดความต่างศักย์ขณะวงจรเปิด(กระแสเป็นศูนย์) • การตอบสนองแบบไม่เชิงเส้น (log) • ความเร็วการตอบสนองไม่สูงสุด V I=0 (มืด) I1 2I1

  9. ไม่ไบอัส + A V ไบอัสกลับ A • 2. Photoconductive mode : • รอยต่อถูกไบอัสกลับ เพื่อให้กระแสพื้นหลังน้อยมาก • วัดกระแสขณะวงจรปิด ความต่างศักย์คงที่ • การตอบสนองแบบเชิงเส้นดีมาก • ความเร็วการตอบสนองสูงสุด กระแสพื้นหลังมาก ความเร็วสูงสุด i V I=0 (มืด) I1 2I1 กระแสพื้นต่ำ ความเร็วไม่สูงสุด

  10. โฟโตไดโอด มีลักษณะสำคัญ 1. หาซื้อได้ง่าย ราคาถูก มีหลากหลายรูปแบบ Photodiode, โฟโตทรานซิสเตอร์ ,โซลาร์เซล 2. มักทำจากซิลิกอนมีการตอบสนองสูงสุดกับย่านแสงอินฟราเรด ใกล้แสงขาว 3. ใช้ได้ดีแม้กับปริมาณแสงระดับน้อยๆ(แต่ต้องมีวงจรขยายสัญญาณ) 4. Stability ดีมาก

  11. ตัวต้านทานไวแสง (LDR, Photocell) => มักทำจาก CdS เมื่อมีแสงตกกระทบจะทำให้ความต้านทานลดลง => ทำงานในลักษณะ photoconductive (กระแสขึ้นกับความเข้มแสง)

  12. Light response curve IL-กระแสผ่าน V-คตศ คร่อม E-ความส่องสว่าง

  13. ลักษณะสำคัญ 1. หาซื้อได้ง่าย ราคาถูก 2. ใช้ โดยมีเพียงโอห์มมิเตอร์ ก็ใช้งานวัดแสงได้ 3. มีการตอบสนองกับย่านแสงขาว ใกล้เคียงกับตามนุษย์ เหมาะกับงาน ที่ใช้ตามอง เช่นกล้องถ่ายรูป 4. เหมาะกับปริมาณแสงระดับ ปานกลางถึงมาก 5. Nonlinear 6. Stability ไม่ดี

  14. Metal-Oxide-Semiconductor (MOS) capacitor ตัวเก็บประจุ MOS ตัวเก็บประจุทั่วไป Metal + + + + + + + + + + + + SiO2 - - - - - - - - - - - - + + + + + + - - - - - + + + + + + P-Semiconductor - - บริเวณปลอดพาหะ - - - - - - ประจุลบเหนือบริเวณปลอดพาหะของ MOS เกิดจากการแตกตัวโดยความร้อน หลังจากการป้อนความต่างศักย์จะต้องใช้เวลารอจนกว่าจะเข้าสู่สภาวะสมดุล Thermal relaxation time(tth) --> เวลาเฉลี่ยของการเกิดประจุโดยความร้อน

  15. การรับรู้ภาพ (image sensing) area scanner line scanner Point scanner ภาพ ภาพ ภาพ สแกนทีละจุด สแกนทีละเส้น สแกนทั้งภาพ

  16. + Metal gate SiO2 - - - - P Semiconductor - คืออะไร???? Charge-Coupled Devices(CCD) t=0 t=0 Optical generation Thermal generation fs T< tth fs T< tth - - - - Thermal generation - - - - fs - -- - t = tth fs t = tth บ่อศักย์กักพาหะ ขณะมีแสง บ่อศักย์กักพาหะ ขณะไม่มีแสง CCD จะต้องบันทึกภาพและส่งออกสัญญาณให้ทัน ก่อนที่ Thermal generation จะเริ่มส่งผล

  17. CCD as an image sensor แสงจากภาพจะถูกแบ่งเป็นเซลเล็กๆ(Pixel) ไปตกบนแต่ละหน่วยของ CCD เกิดเป็นคู่ e-h ขึ้นใต้ชั้น SiO2เฉพาะ e-เท่านั้นที่ถูกกักไว้ใต้เกตที่มีศักย์บวก + + + + + Metal gate SiO2 - - - - - - - Semi conductor -

  18. CLK1 CLK2 CLK3 การเลื่อนข้อมูลภาพแบบ Threephase G1 t G1 G1 t G2 G2 G2 G3 G3 G3 t - - - - - - x fs x เกตจะรับความต่างศักย์ขับเคลื่อน 3 ชุด ในเวลาถัดๆกันและเหลื่อมกัน บ่อศักย์ที่เกิดขึ้นใต้เกตจะค่อยๆถ่ายประจุให้เลื่อนออกจาก CCD ไปที่ละ pixel x ภาควัดระดับสัญญาณ - - - - - -

  19. การวัดแสง Radiometry: การวัดปริมาณการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ครอบคลุม 3x1011 Hz(1000mm) --> 3x1016 Hz(0.01mm) - มักมีหน่วยเป็น joules (energy) และ watts (power) Photometry: การวัดปริมาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเฉพาะที่ตามองเห็น - ครอบคลุม 400nm -- 700nm: - ถ่วงน้ำหนักด้วยการตอบสนองเชิงสเปกตรัมของตาคน -มักมีหน่วยเป็น lumen-sec (energy) และlumen (power) 19

  20. หน่วยของการวัด

  21. Radiant Flux (Radiant power): พลังงานต่อหนึ่งหน่วยเวลา f = dQ/dt [watt] Ex.. Laser He-Ne ขนาด 5 mW Radiant Flux Density (Irradiance and Radiant Existance): Radiant flux per unit area E = df/dA M = df/dA [watt/m2] Radiant intensity : ปริมาณกำลังงานบนหนึ่งหน่วยมุมตัน I = df/dw [watt/Sr] Radiance: ปริมาณพลังงานตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ และ บนหนึ่งหน่วยมุมตัน L = d2f/(dAcosqdw) [watt/m2.Sr] 21

  22. พลังงานการแผ่รังสี (Radiant energy ) Q [watt –s ] พลังงานการส่องสว่าง (Luminous energy ) QV [lumen–s ] กำลังการแผ่รังสี , ฟลักซ์การแผ่รังสี(Radiant flux ) f[watt ] กำลังการส่องสว่าง , ฟลักซ์ส่องสว่าง (Luminous flux) fV [lumen] ความเข้มการแผ่รังสี (Radiant intensity ) I [watt /sr] ความเข้มการส่องสว่าง (Luminous intensity) IV [lumen/sr , Candela] 1 Lumen <==> Radiant energy of 1/683 watt at a frequency of 540x1012 Hz, (standard air wavelength of 555.016 nm ) 1 Candela <=> a source that emits monochromatic radiation of frequency 540x1012 Hz and with a radiant intensity of 1/683 watt per steradian 22

  23. มุมตัน (Solid angle) พื้นที่ที่รองรับมุม /รัศมียกกำลังสอง

  24. การตอบสนองของตาคน • V (l) –ประสิทธิภาพการส่องสว่าง Luminous effiency

  25. ประสิทธิผลการส่องสว่างเชิงสเปกตรัม Spectral luminous efficacy : Kl อัตราส่วนระหว่างfvและ f • CIE ( The Commission Internationale de l’Eclairage ) K (l)==>Kmax V (l) Photopic vision มีKmax = 683 lumen/W ที่ l = 555 nm Scotopic vision มีKmax = 1700 lumen/W ที่ l = 507 nm

  26. ความเข้มการส่องสว่าง (Luminous intensity) [lm/Sr,Cd]

  27. ความสว่าง (illuminance) [lm/m2, Lux]

  28. ความส่องสว่าง (luminance) คือปริมาณความสว่าง (illuminance) ของพื้นผิวต่อ หน่วยมุมตัน[Cd/ m2 ] 28

  29. ทำไมเราจึงเห็นเปลวเทียนเป็นสีเหลืองทำไมเราจึงเห็นเปลวเทียนเป็นสีเหลือง 29

  30. Example A light bulb emitting 100 W of radiant power is positioned 2 m from a surface. The surface is oriented perpendicular to a line from the bulb to the surface. Calculate the irradiance at the surface. If all 100 W is emittied from a red bulb at l = 650 nm. Calculate also the illuminance at the surface 30

More Related