230 likes | 375 Views
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย ( คปภ. ). สำนักงาน คปภ. เป็นหน่วยงานของรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2550 ทำหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจประกันภัย.
E N D
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สำนักงาน คปภ. เป็นหน่วยงานของรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2550 ทำหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจประกันภัย
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งมั่นเพื่อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และเสริมสร้างให้ระบบประกันภัยเป็นกลไกสร้างหลักประกันความมั่นคงแก่ประชาชน และพร้อมรับความท้าทายในอนาคต I II III IV พัฒนากฎหมายและระบบการคุ้มครองสิทธิประโยชน์แบบครบวงจร เสริมสร้างความเชื่อมั่นและการเข้าถึงระบบประกันภัย เสริมสร้างเสถึยรภาพของระบบประกันภัย ส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
ความคุ้มครอง "กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย และภัยพิบัติสำหรับที่อยู่อาศัย" จะให้ความคุ้มครองภัยพิบัติโดยอัตโนมัติ ในวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท บ้านอยู่อาศัย ธุรกิจ SME ทุนประกันภัยไม่เกิน 50 ล้านบาท "กรมธรรม์ประกันภัยพิบัติ" ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกซื้อความคุ้มครองภัยพิบัติโดยมีการจำกัดความรับผิด (Sublimit) ไม่เกิน 30% ของทุนประกันภัย อุตสาหกรรม "กรมธรรม์ประกันภัยพิบัติ" ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกซื้อความคุ้มครองภัยพิบัติโดยมีการจำกัดความรับผิด (Sublimit) ไม่เกิน 30% ของทุนประกันภัย
กรมธรรม์คุ้มครอง • ภัยหลัก • อุทกภัย • ฝนทิ้งช่วง • ลมพายุ • อากาศหนาว • ลูกเห็บ • ไฟไหม้ • ภัยเพิ่ม • ศัตรูพืช • โรคระบาด ค่าสินไหมทดแทนกรณีเกิดความเสียหาย = 1,111 ฿ ค่าสินไหมทดแทนกรณีเกิดความเสียหาย = 555 ฿
วิสัยทัศน์ด้านการประกันภัยและธุรกิจที่เกี่ยวข้องวิสัยทัศน์ด้านการประกันภัยและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยแวดล้อม • ภูมิภาคเอเชียจะมีบทบาทสูงมากในการเติบโตของเศรษฐกิจโลก • ระบบเศรษฐกิจมีแนวโน้มเชื่อมโยงกันมากขึ้น • ปัญหาสิ่งแวดล้อมและความขาดแคลนทรัพยากร • สัดส่วนผู้สูงอายุที่จะเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก
2. นโยบายการกำกับและส่งเสริมธุรกิจประกันภัย • อุตสาหกรรมประกันภัย • ความมั่นคง • แผนเปิดเสรีอย่างเป็นขั้นเป็นตอน (AEC, etc.) • มาตรฐานสากล (FSAP, CG-ROSC, IAIS, etc.) • ผู้ประกอบการ • มีศักยภาพ (RBA. Liq. Cont., etc.) • แข่งขันได้ พร้อมเชื่อมโยง (Product innov.) • องค์กรกำกับดูแลตนเอง • การให้คุ้มครองผู้เอาประกัน • Presale • Point of sale • Post sale
ปรากฏการณ์สำคัญทีต้องเฝ้าติดตามปรากฏการณ์สำคัญทีต้องเฝ้าติดตาม • สภาวการณ์ในต่างประเทศ • เกณฑ์สากล • Shadow banking • Middle income trap • ปัจจัยแวดล้อมภายในประเทศ • กฏเกณฑ์และพัฒนาการ ธปท. กลต. ตลท. • แผนพัฒนาฯ สภาอุตฯ หอการค้า BOI etc. • หน่วยงานกำกับดูแลธุรกิจ: ความเปลี่ยนแปลง • ??
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia เอเชียจะมีบทบาทในเศรษฐกิจโลกสูงสุด • คาดว่าในปี 2030 • ส่วนแบ่งของ emerging Asia ใน global GDP เพิ่มจาก 21% ในปี 2010 เป็น 47% • 45% ของ global growth มาจาก emerging Asia Nominal global GDP 2010 USD 62 trn. Projected nominal global GDP 2030 USD 308 trn. source : IMF, Standard Chartered Research
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia แนวโน้มการค้าระหว่าง emerging market ด้วยกันเพิ่มขึ้นเท่าตัวในอีก 20 ปี EM to EM trade as % of world trade source: IMF, Standard Chartered Research
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia หยวนจะมีบทบาทสำคัญขึ้นในการกลายเป็น major reserve currency • US dollars ยังเป็น major reserve currency ในทศวรรษหน้าเนื่องจากขนาดเศรษฐกิจ และ financial markets ที่พัฒนากว่า • หยวนจะเป็น fastest growing currency market จากการเป็น world’s largest export nation และ ทิศทางการเปิดเสรีเงินหยวน share of world export by region (%) source : Standard Chartered Research
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia ปัจจัยด้าน workforceสัดส่วนวัยทำงานในเอเชียมีสัดส่วนมากกว่าครึ่งหนึ่งของโลกอย่างต่อเนื่อง Projected share of global working-age population (15-64) in 2030 source: US Census Bureau
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia ปัจจัยด้าน consumptionEM Asia มี middle class เพิ่มขึ้นมากที่สุด Global middle class in 2009 (1.8 bn) and prediction for 2030 (4.9 bn) Europe North America Middle East and North Africa Asia Pacific 2030 3.2 bn. 2009 0.5 bn. Sub Saharan Africa Central and South America source: OECD, Standard Chartered Research
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia EM Asian consumer market จะโต 3 เท่า จากการเพิ่มขึ้นของ middle class Projected consumption in 2020 compared to 2008 2008 2020 source: White paper on International Economy and Trade (2010), METI
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia Middle class ที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้องการใช้บริการด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น Spending habits at different income levels Per-capita income per year ($ US) source: IAFM (International Academy of Financial Management)
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia Urbanization trend สูงขึ้นทั่วโลก Urban population to total population ratio US China World EM Asia Thailand India source: World urbanization prospect 2009, UNPD
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia ในขณะเดียวกันเกิด aging trend ทั่วโลก ส่งผลให้มีความต้องการเพิ่มขึ้นในเรื่อง social safety net และ retirement savings Old-age dependency ratio Number of old people per 100 workers • Old-age dependency ratio = the ratio of the population aged ≥ 65 years per 100 people aged 15-64 • source: Population Division, UN
แนวโน้มโลก : การเติบโตของ Emerging Asia Policy Implication จากการเติบโตของ urban middle class ในเอเชีย Issues • ความเหลื่อมล้ำระหว่างประเทศและในประเทศ • การแย่งทรัพยากร • การสร้างความมั่นคงรองรับวัยเกษียณ • ความผันผวนจาก capital flows • ความต้องการในด้าน • infrastructure financing • middle class financial products & services • long-term investment products for retirement savings • intra-emerging market investment channels • Yuan denominated products • mechanism to manage capital inflows/outflows
แนวโน้มโลก : ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ปัญหาอาหารและพลังงาน • ปัญหาขาดแคลนอาหาร • ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ระบบนิเวศวิทยาส่งผลกระทบ ต่อราค่าอาหาร ผลิตผลทางการเกษตร • bio-fuels ทำให้ราคาอาหารผันผวนขึ้น • ปัญหาพลังงาน • - การเพิ่มขึ้นของ urbanization, middle class ทำให้ความต้องการ ใช้พลังงานสูงขึ้นขณะที่ supply มีจำกัด • จึงต้องเร่งพัฒนาการใช้พลังงานทางเลือกและเพิ่มประสิทธิภาพจากการใช้พลังงาน
แนวโน้มโลก : ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร Policy Implication จากปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ความต้องการพัฒนาพลังงานทางเลือก การขาดแคลนทรัพยากร โดยเฉพาะอาหารและพลังงาน ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ผันผวน • โอกาสของกลุ่มธุรกิจ decarbonization, bio-fuels, renewable energy และเทคโนโลยีที่เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร พลังงานต่างๆ • cross-border investment ในภาคการเกษตรมากขึ้น • ความต้องการด้าน hedging / risk management เพื่อจัดการความผันผวนของราคา commodity แก่ภาคธุรกิจ