290 likes | 410 Views
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ (สสค.). จัดตั้งขึ้น ตามระเบียบสำนักนายรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุภาพเยาวชน พ.ศ.๒๕๕๓ ประกาศ ณ วันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๓ โดย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี. ภารกิจ ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ เป้าหมายสำคัญคือ
E N D
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ (สสค.) จัดตั้งขึ้น ตามระเบียบสำนักนายรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุภาพเยาวชน พ.ศ.๒๕๕๓ ประกาศ ณ วันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๓ โดย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
ภารกิจ ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ เป้าหมายสำคัญคือ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) ตามปรัชญาของการ ปฏิรูปการศึกษาไทย วัตถุประสงค์ เพื่อระดมพลังสังคมเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ให้มากขึ้นเพื่อ ขับเคลื่อนสังคมไทยให้มีจิตสำนึกของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้เยาวชน ไทยมีคุณภาพสูงขึ้นมีสุขภาวะดีขึ้น
บทบาทของ สสค. สสค. ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานสนับสนุนกระทรวงศึกษา สสค. เน้นบทบาท “จุดประกาย หล่อลื่น ถักทอ สนับสนุน รณรงค์ ในการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ สสค.มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ๑.สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ การจัดการความรู้ และการ พัฒนาเครือข่ายบุคลากร ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ๒.สนับสนุนการพัฒนานโยบาย การปรับปรุงระบบงานในระดับชาติ ระดับท้องถิ่นและระดับองค์กร (มหาดไทย บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบABC) ๓.สนับสนุนการรณรงค์สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และการดำเนินงาที่เกี่ยวข้องผ่าน สื่อสารมวลชน สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม ๔.ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
สสค.ทำงานอย่างไร • ลักษณะพิเศษของ สสค.คือ วิธีการทำงานใหม่ เนื้องานใหม่ให้โอกาส “คิดนอกกรอบ” • ระดมความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ถักทอ เป็นเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้ • จุดประกาย หล่อลื่น ถักทอ สนับสนุน รณรงค์
หน่วยงานที่ สสค. สนับสนุน • องค์กรภาครัฐ • องค์กรท้องถิ่น • องค์กรสาธารณประโยชน์ • องค์ภาคเอกชน • ผู้สนใจเข้าร่วมงานกับ สสค.สามารถร่วมได้ทั้งในนามของหน่วยงานและส่วนบุคคล
โครงการที่ สสค.ดำเนินการในขณะนี้ • โครงการสังคมไทยร่วมกันคืนครูดีให้ศิษย์ เชิดชู ยกย่อง “ครูสอนดี”การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการปฏิรูปประเทศไทย • โครงการป้องกันและแก้ปัญหาเด็กด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษาและเด็กกลุ่มเสี่ยงในระบบการศึกษาในระดับท้องถิ่น • โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ชุมชนเพื่อสัมมาชีพ
โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ชุมชนเพื่อสัมมาชีพโครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ชุมชนเพื่อสัมมาชีพ • เป็นโครงการพัฒนาที่มุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เพื่อศักยภาพของชุมชน บนฐานข้อมูลและความรู้ ให้ชุมชนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลและความรู้ บนเส้นทางสายโซ่เศรษฐกิจ • มุ่งเน้นในความสำเร็จ ใช่แค่เสร็จ (นวัฒกรรมใหม่) • ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในระหว่างทาง • สร้างให้เกิดรายได้ต่อครัวเรือน • สร้างการมีส่วนร่วมกับ อปท.
พื้นที่ดำเนินงานและเงื่อนไขพื้นที่ดำเนินงานและเงื่อนไข • ประกาศรับสมัครทั่วประเทศ จังหวัดละ 4 พื้นที่ ในเป้าหมายรวมทั่วประเทศ 100 พื้นที่ ในงบประมาณ 30 ล้าน • เฉลี่ย งบประมาณ พื้นที่ ละ 300,000 บาท • เน้นพื้นที่ ที่มีต้นทุนการจัดทำระบบฐานข้อมูล • มีระยะเวลาในการนำเสนอที่ชัดเจน • กรณีที่ องค์กรเอกชน และท้องถิ่นเสนอ ในสามารถทำงานร่วมกับ อปท.
หน่วยงานที่ สามารถเสนอได้ • องค์กรภาครัฐ • องค์กรท้องถิ่น • องค์กรสาธารณประโยชน์ • องค์กรภาคเอกชน • ผู้สนใจเข้าร่วมงานกับ สสค.สามารถร่วมได้ทั้งในนามของหน่วยงานและส่วนบุคคล
ในส่วนจังหวัด สงขลา เสนอในนาม • องค์กรท้องถิ่น อบต. • องค์กรภาคเอกชน ร่วมเสนอ 4 พื้นที่ทำฐานข้อมูลภายใต้ สกว. ประสาน กก.ครูสอนดี เพื่อร่วมงาน อบต.คูหาใต้ อบต.ควนโส ทต.ควนเนียง อบต.รัตภูมิ ทันเวลา มีฐานข้อมูล เงื่อนไข พัฒนาโครงการ ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรง
ที่ผ่านมา • เสนอ โดยองค์กรเอกชนร่วมกับ อปท. 4 พื้นที่ ภายใต้หน่วยงานที่ สสค. สนับสนุน ตรงเป้าหมาย • ไม่ต้องการให้เสียสิทธิ์ ภายในจังหวัด • ในเวทีประชุมผู้ประสานงานจังหวัด(NODE)ระดับชาติ เมื่อ 11-13 ม.ค.55 ที่ โรงเรียนเอเชีย • ภาคใต้ “สงขลา” เสนอให้ทำร่วมกับ ส่วนท้องถิ่น (เป็นผู้รับทุน) • ภาคอิสาน ภาคประชาชน เป็นผู้รับทุน • ภาคเหนือ เชียงใหม่ มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือเป็นผู้รับทุน
คูหาใต้ เสนอเพื่อพิจารณาในวันนี้ • พิจารณา คณะกรรมการ บทบาทหน้าที่/ ใครรับผิดชอบกิจกรรมอะไร? • -คณะกรรมการจ่ายเงิน/ เลือกใครเป็นสมุห์บัญชี(ไม่ใช้คนเบิกเงินถอนเงิน)? • -ฝ่ายแผน/ ฝ่ายควบคุมแผนให้เดินไปตามกิจกรรมจะเอาใคร? • -รายงานการเงินทาง อินเตอร์เนท/จะเลือกเยาวชนหรือเลือกใคร? • -รายงานสถานการการดำเนินงาน อินเตอร์เนท (เก็บภาพ เสนอรายกิจกรรม)
รับผิดชอบแผน กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อสร้างความเข้าใจโครงการ มอบหมายภารกิจบทบาทหน้าที่ งบประมาณ • ค่าเดินทางผู้เข้าประชุม 17x100เป็นงาน 1,700 บาท • รวมเงิน 1,700 บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 2 -เก็บข้อมูลเกษตรกรผู้ทำนาข้าว หมู่ที่ 3,6,12,4 พื้นที่นาบริเวณคลองตะเคียนและสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนบ้านกันมัน ต.คูหาใต้ -จัดทำข้อมูลที่ดินรายแปลง ด้วย GIS งบประมาณ -ค่าประสานงานเก็บข้อมูลการประกอบอาชีพโปรแกรมขอนหาด 200x50 =10,000 บาท -ค่านำข้อมูลเข้าโปรแกรม 200x10=2,000 บาท -ค่าเอกสาร200x15=3,000บาท -ค่าจัดทำข้อมูลที่ดินรายแปลง ด้วย GIS 2,000บาทx14หมู่=28,000 บาท รวม 43,000 บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 3 ประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจในโครงการและสร้างการเรียนรู้สถานการณ์ภายในตำบลต่อผู้เข้าร่วมโครงการ พร้อมสร้างความเข้าใจในการลงบัญชีครัวเรือน งบประมาณ -ค่าอาหาร/อาหารว่าง 205x95 เป็นเงิน 19,475 บาท -ค่าวิทยากรให้องค์ความรู้ทั่วไปในตำบลจากระบบฐานข้อมูล 1 คน 3 ชม.x600 เป็นเงิน 1,800 บาท -ค่าจัดทำเอกสารชุดองค์ความรู้เดิมของตำบลเข้าเล่ม 100 หน้า เล่มละ 100 บาทx200 เล่ม 20,000 บาท รวมเงิน 41,275บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 4 อบรม ทักษะการทำไม้กวาดก้านมะพร้าวและการเชิงปฏิบัติการจริงเพื่อเสริมอาชีพทำนาข้าว เวลา 4 วัน งบประมาณ -ค่าวัสดุอุปกรในการฝึกอบรม 15,000 บาท -ค่าอาหาร/อาหารว่าง 95x169x4วัน 64,220 บาท -ค่าวิทยากร 24ชม.x600 =14,400 บาท รวม 93,620 บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 5 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การลงบัญชีครัวเรือน/คืนข้อมูลการหาสัตว์น้ำจากกครัวเรือน 250ครัวเรือน จำนวน 3 เวที งบประมาณ -ค่าอาหารว่าง 25x243=6,075x3 เวที เป็นเงิน 18,225 บาท -ค่าประสานงาน 500x3=1,500 บาท -ค่าเอกสารแบบฟอร์มการลงบัญชีครัวเรือน คนละ 4 ชุด /เดือน รวม 6 เดือน 24 ชุด(ชุดละ 3 ใบ) ต่อครัวเรือน รวม 140x24ชุด=3,360 เป็นเงิน1,500บาท -ค่านำเข้าโปรแกรม บัญชีรับ-จ่าย เดือนละ 1,500 บาท 9,000 บาท รวม 30,225 บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 6 อบรมเรียนรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคการทำนาอินทรีย์ ครั้งที่ 1 งบประมาณ -ค่าวัสดุอุปกรณ์เพื่อการเรียนรู้ในการทำปุ๋ยจุลินทรี 25,000 บาท -ค่าวิทยากร 3,600 บาท -ค่าสถานที่ 5 000 บาท -ค่าอาหาร/อาหารว่าง 183x95=17,385 บาท รวม 50,985 บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 7 อบรมเรียนรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคการทำนาอินทรีย์ ครั้งที่ 2 งบประมาณ -ค่าวัสดุอุปกรณ์เพื่อการเรียนรู้ในการทำปุ๋ยจุลินทรี 25,000 บาท -ค่าวิทยากร 3,600 บาท -ค่าสถานที่ 5 000 บาท -ค่าอาหาร/อาหารว่าง 183x95=17,385 บาท รวม 50,985 บาท
รับผิดชอบแผน แผนที่ 8 • เวทีสรุปถอดบทเรียน / • -จัดตั้งธนาคารแรงงาน/ • -จัดตั้งศูนย์รับซื้อสร้างกลไกการรับซื้อและจำหน่ายไม้กวาด • -ประเมินผลอบรมเรียนรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคการทำนาอินทรีย์ งบประมาณ • -ค่าอาหารว่าง 243x25=6,075 บาท • -ค่าจัดทำเอกสารชุดความรู้ 300 เล่มx100 =30,000 บาท • รวม 36,075 บาท
การเบิกจ่าย งบประมาณ มิ.ย.55 • ค่าจัดทำกิจกรรมที่ 2 ตาม ใบสำคัญรับเงิน/สรุปผลการจัดกิจกรรม จำนวน 28,000 บาท(ดำเนินการแล้ว แต่ยังค้างจ่าย) • รวมกิจกรรมที่ 2 จำนวน 28,000 บาท • กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ -ค่าจัดทำต้นฉบับ หนังสือเชิญและหนังสือถึง • ผู้รับผิดชอบโครงการตำบล จำนวน 97 บาท • ค่าประสานงานส่งหนังสือเชิญประชุมกรรมการ วันที่ • 20 มิถุนายน 55 จำนวน 300 บาท • ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญประชุมพร้อมรายละเอียดโครงการ จำนวน 460 บาท • ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่เข้าร่วมประชุม จำนวน 5,200 บาท • ค่าอาหารว่าง วันประชุม จำนวน 750 บาท • รวมกิจกรรมประชุมคณะกรรมการ จำนวน 6,807 บาท • รวมทั้งสิ้น ที่จะต้องเบิกจ่าย ภายในวันที่ 19 มิถุนายน 2555 จำนวน 34,807 บาท
การเบิกจ่าย งบประมาณ มิ.ย.55 หมายเหตุ หากพิจารณาเบิกเงินเพื่อเตรียมการในกิจกรรมที่ 3 ภายใน เดือน มิถุนายน 2555 เงินตามกิจกรรมทั้งสิ้นคือ • ค่าอาหาร/อาหารว่าง เป็นเงิน 19,475 บาท • ค่าวิทยากร เป็นเงิน 1,800 บาท • ค่าจัดทำเอกสารชุดองค์ความรู้ของตำบล เป็นเงิน 20,000 บาท รวมกิจกรรม ที่ 3 เป็นเงิน 41,275 บาท แผนที่ 2 เสนอ พิจารณา พิมพ์ไวนิล ให้ครบทั้ง 13 หมู่บ้าน (ภายในเดือน มิถุนายน 55)
การเบิกจ่ายเงิน แนวทางของ องค์กรฯ เช่น สกว.สสส.พอช.สสค.ฯลฯ -ต้องการลดปัญหาการดำเนินงานที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง/ เชื่อในองค์กรชุมชน(เชื่อชาวบ้าน ภายใต้ รัฐธรรมนูญปี 40) -อุดหนุนเงิน เบิกถอน ทำกิจกรรม รายงานการจ่าย(ใบเสร็จ,ใบสำคัญรับเงิน) เงินเหลือส่งคืนหรือโยกไปใช้กิจกรรมอื่น -กรณี สสค.รายงานทางโปรแกรม อินเตอร์เนท แนวทางภาครัฐ
สรุปคณะทำงาน รับผิดชอบกิจกรรม กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 กิจกรรม 4 กิจกรรม 5 กิจกรรม 6 กิจกรรม 7 กิจกรรม 8
สรุปคณะทำงาน ประสานพื้นที่ติดตามการลงบัญชีครัวเรือนพร้อมเก็บส่งให้ผู้นำเข้า 1 2 3
สรุปคณะทำงาน ผู้นำเข้าข้อมูลใน ทำรายงานเข้า/นำเข้า • โปรแกรมจับความรู้ฐานข้อมูลอาชีพ(ออนไลน์) www.100tambol.QLF.or.th • โปรแกรมบัญชีรับจ่ายครัวเรือน(ออนไลน์) • www.homeacc.thailanddb.com 1 2 3
สรุปคณะทำงาน ผู้รับผิดชอบเรื่องเงินสดในมือ 1 2 3 ผู้ทำบัญชี/ติดตามสนับสนุนโครงการ 1. ผู้จัดทำรายงาน/บันทึกรายงานการประชุม 1 2 3
สสค. ผู้ประสานงาน จังหวัด โอนเงิน 1,200,000 โครงสร้างการทำงาน โครงการสัมมาชีพ สสค.กรณีร่วมกับท้องถิ่น รวบรวม เอกสาร สำเนา บัตรประจำตัว ผู้มอบหมาย (นายก อบจ.) ผู้รับมอบหมาย ผู้เปิดบัญชีเงินฝากระดับจังหวัด 3 คน ผู้เปิดบัญชี ระดับตำบล 3 คน อบจ. คณะกรรมการครูสอนดี นายก อบจ.แต่งตั้งคณะทำงานสัมมาชีพ มอบหมายให้มีผู้รับทุน บริหารโครงการระดับจังหวัด เปิดบัญชี เงินฝาก 3 คน โอนเงิน 300,000 อบต.เปิดบัญชี 3 คน คณะทำงานระดับตำบล
สสค. ผู้ประสานงาน จังหวัด โอนเงิน 1,200,000 โครงสร้างการทำงาน โครงการสัมมาชีพ สสค.กรณีองค์กรเอกชน รวบรวม เอกสาร สำเนา บัตรประจำตัว ผู้รับมอบหมาย ผู้เปิดบัญชีเงินฝากระดับจังหวัด 3 คน ผู้เปิดบัญชี ระดับตำบล 3 คน ศรส.จ.สงขลา ผู้บริหาร อปท. 4 พื้นที่ จัดหาคณะทำงานระดับจังหวัด 1 ชุด มอบหมายให้มีผู้รับทุน บริหารโครงการระดับจังหวัด เปิดบัญชี เงินฝาก 3 คน โอนเงิน 300,000 อบต.เปิดบัญชี 3 คน คณะทำงานระดับตำบล