1 / 19

ประชุม บูรณา การงานส่งเสริมการเกษตร

ประชุม บูรณา การงานส่งเสริมการเกษตร. 13 กุมภาพันธ์ 2557. งบประมาณ พ.ศ.2557. สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี. นายบรรจงศิลป์ วุฒิอุทัย นวส. ชำนาญการ. กรมส่งเสริมการเกษตร.

Download Presentation

ประชุม บูรณา การงานส่งเสริมการเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมบูรณาการงานส่งเสริมการเกษตรประชุมบูรณาการงานส่งเสริมการเกษตร 13 กุมภาพันธ์ 2557 งบประมาณ พ.ศ.2557 สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี นายบรรจงศิลป์ วุฒิอุทัย นวส.ชำนาญการ

  2. กรมส่งเสริมการเกษตร • ยุทธศาสตร์ : เร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จำนวน 14 โครงการ/กิจกรรม เกษตรกร 1,761 รายงบประมาณ 1,351,925 บาท • ยุทธศาสตร์ : การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน จำนวน 3 โครงการ/กิจกรรม เกษตรกร 560 ราย งบประมาณ 261,500 บาท

  3. ยุทธศาสตร์ : เร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1.แผนงาน :รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ผลผลิต :โครงการพัฒนาศักยภาพของภาคเกษตรเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน กิจกรรมหลัก: เสริมสร้างความรู้ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1.1 โครงการ เตรียมความพร้อมผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคม อาเซียน

  4. ยุทธศาสตร์ : เร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2.แผนงาน : สิงเสริมสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ผลผลิต :โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน กิจกรรมหลัก: พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร 2.1 โครงการ พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน (ไม้ผล) 2.2โครงการ พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน (สมุนไพร) 2.3โครงการ พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน (พืชผัก) 2.4โครงการ พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน (พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐานด้านความปลอดภัยจากสารเคมี) 2.5 โครงการ ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (น้ำผึ้ง)

  5. ยุทธศาสตร์ : เร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2.6โครงการ ลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช 2.7โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม จัดระบบการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ 2.8โครงการ พัฒนาองค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรและเครือข่ายในการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กิจกรรมพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกรและแหล่งเรียนรู้ด้านเคหกิจเกษตร กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2.9 โครงการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันสำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูป

  6. ยุทธศาสตร์ : การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน แผนงาน : ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาคเกษตร ผลผลิต : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมหลัก : สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1.โครงการพัฒนาพื้นที่เขื่อนป่าสัก จังหวัดสระบุรี 2.โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ 3.โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว

  7. โครงการพัฒนาผลผลิตเกษตร ให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วงเงินงบประมาณ 21,218,000 บาท ประมง 7,962,400 บาท พืช 13,255,600 บาท

  8. 1 : การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness) ยุทธศาสตร์ประเทศ 3 : การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth) ประเด็นยุทธศาสตร์ :พัฒนาระบบการเกษตรให้มีผลผลิตปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด เป้าประสงค์ : มีการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย

  9. 1.เพื่อพัฒนาทักษะเกษตรกรในการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย1.เพื่อพัฒนาทักษะเกษตรกรในการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย วัตถุประสงค์ ๒.เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรและอาหารให้มีความ สามารถในการแข่งขัน ๑. จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาทักษะและนำไปปฏิบัติ จำนวน 1,500 ครัวเรือน ๒. จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิต จำนวน 1,500 ครัวเรือน ผลผลิตหลัก ๓. จำนวนแปลง/ฟาร์ม ที่ได้รับการตรวจรับรองฟาร์มเบื้องต้น จำนวน 1,500 แปลง

  10. กิจกรรมหลัก 1.กิจกรรม พัฒนาระบบการผลิตภาคเกษตรกรรมที่สำคัญ (พืชและประมง) 1.1) พัฒนาการบริหารจัดการระบบการผลิตการเกษตรเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย 1.2) ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุน 1.3) ตรวจรับรองมาตรฐานการผลิต/มาตรฐานฟาร์มเบื้องต้น 2.กิจกรรม ส่งเสริมการเข้าสู่กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน GAP

  11. ตัวชี้วัดหลัก ๑) ร้อยละของจำนวนเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย ที่ได้รับการพัฒนาทักษะการผลิตให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิต/มาตรฐานฟาร์มเบื้องต้น (ร้อยละ 100) ๒) ร้อยละของต้นทุนการผลิตต่อหน่วยที่ลดลงร้อยละ ๑๕ (ร้อยละ 70) ๓) ร้อยละของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP (พืช ร้อยละ 50 ประมง ร้อยละ 10)

  12. 1.กิจกรรม พัฒนาระบบการผลิตภาคเกษตรกรรมที่สำคัญ (พืชและประมง) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.เกษตรกร ได้รับการพัฒนา 1,100 คน 2.พื้นที่เกษตรกรรม 11,000 ไร่ 3.ผ่านการรับรองเบื้องต้น 1,100 แปลง เกษตรกร 1,500 คน งบประมาณ 1.สัมมนา/อบรม 671,600 บาท 2.วัสดุการเกษตร 1,004,000 บาท 3.วัสดุสำนักงาน 270,000 บาท 4.เบี้ยเลี้ยง พาหนะ 624,000 บาท พืช 1,100 คน พืช 11,605,600 บาท 1.สัมมนา/อบรม 264,400 บาท 2.วัสดุการเกษตร 6,000,000 บาท 3.วัสดุสำนักงาน 270,000 บาท 4.เบี้ยเลี้ยง พาหนะ 48,000 บาท 5.งานวันสาธิต 300,000 บาท 6.ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง 800,000 บาท ประมง 400 คน ประมง 7,682,400 บาท 1.เกษตรกร ได้รับการพัฒนา 400 คน 2.ผ่านการรับรองเบื้องต้น 400 แปลง 3.วันสาธิต ขยายผล 1 ครั้ง ตอบตัวชี้วัดที่ 1 และ 2

  13. 2.กิจกรรม ส่งเสริมการเข้าสู่กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน GAP ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผลผลิตย่อย แปลงเกษตร 1,140 แปลง งบประมาณ GAP จำนวน 800 แปลง ค่าตรวจรับรอง พืช 1,100 แปลง พืช 1,650,000 บาท GAP จำนวน 40แปลง ประมง 280,000 บาท ค่าตรวจรับรอง ประมง 40 แปลง ตอบตัวชี้วัดที่ 3

  14. กรอบทิศทางแผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2556 - 2559 เกษตรกรอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน - ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตร – เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกร – เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและบริการทางการเกษตร อย่างทั่วถึงครอบคลุมในทุกพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ทั่วไป กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่เน้นหนัก 3.บูรณาการส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่(Area – Based) 2.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกรและภาคเกษตร (Function – Based) 1.ตอบสนองต่อนโยบายสำคัญของรัฐบาล (Agenda – Based) 4.พัฒนาศักยภาพการส่งเสริมการเกษตร

  15. - ระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ - Smart Extension Officer - ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ เป้าหมายการพัฒนา– พัฒนาการผลิต – พัฒนาเกษตรกร - องค์กรเกษตรกร ทิศทางการพัฒนา– เศรษฐกิจพอเพียง – Green Economy - Zero Waste Agr. 1.การบริหารจัดการในพื้นที่ พื้นที่ ตลาด Logistics อุตสาหกรรมเกษตร การเรียนรู้ การมีส่วนร่วม Agenda-Based Function-Based Area-Based สินค้า คน 3.การบริหาร จัดการองค์กร 2.การบริหารจัดการข้อมูล กรอบแนวคิดนโยบายการส่งเสริมการเกษตร ปี 2557 การเปลี่ยนแปลง CHANGE

  16. การบริหารจัดการในพื้นที่การบริหารจัดการในพื้นที่ กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 1 คน/เป้าหมาย 1 1 อำเภอ 1 พท.เน้นหนัก 1 คน/1 ผลิตภัณฑ์ กำหนดชนิดสินค้า/ผลิตภัณฑ์ 2 Agenda-Based Function-Based Area-Based ตลาด Logistics อุตสาหกรรมเกษตร ประสิทธิภาพ/ต้นทุน/ศักยภาพ ประเด็นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจพอเพียง Green EconomyZero Waste Agr. ข้อ มูล แผนงาน/โครงการ 4 MRCF หลักการเหตุผล/ สถานการณ์/เป้าหมาย/แนวทางพัฒนา/ความเสี่ยง/การควบคุมกำกับ/แผนปฏิบัติและตัวชี้วัด 5 วิเคราะห์/รายงาน

More Related