1 / 31

ทิศทางการสอบเทียบและบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ในอนาคต

ทิศทางการสอบเทียบและบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ในอนาคต. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. กลุ่มตรวจสอบภายใน. กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม. กลุ่มภารกิจบริหาร. กลุ่มภารกิจภูมิภาค. กองวิศวกรรมการแพทย์. สำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ 12 เขต. กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน. สำนักบริหาร.

Download Presentation

ทิศทางการสอบเทียบและบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ในอนาคต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการสอบเทียบและบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ในอนาคตทิศทางการสอบเทียบและบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ในอนาคต

  2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม กลุ่มภารกิจบริหาร กลุ่มภารกิจภูมิภาค กองวิศวกรรมการแพทย์ สำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ 12 เขต กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน สำนักบริหาร กองแบบแผน กองกฎหมาย เขต 1 จ.เชียงใหม่ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กองสุขศึกษา เขต 2 จ.พิษณุโลก เขต 3 จ.นครสวรรค์ สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กองสุขภาพระหว่างประเทศ เขต 4 จ.นนทบุรี เขต 1 จ.เชียงใหม่(วศ.) เขต 5 จ.ราชบุรี กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์และสุขภาพภาคประชาชน กลุ่มภารกิจควบคุมคุณภาพมาตรฐาน เขต 6 จ.ชลบุรี เขต 7 จ.ขอนแก่น เขต 8 จ.อุดรธานี เขต 9 จ.นครราชสีมา เขต 10 จ.อุบลราชธานี เขต 11 จ.นครศรีธรรมราช เขต 12 จ.สงขลา Back Stopping Home-based Back Office Market Facing

  3. อำนาจหน้าที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 1) พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน 2) ควบคุม กำกับ และประเมินผลยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน 3) ควบคุม กำกับ รับรอง คุณภาพ มาตรฐาน และการบังคับใช้กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และการพิทักษ์สิทธิของประชาชน 4) พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การคุ้มครอง และการเยียวยา ผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน 5) พัฒนาขีดความสามารถของประชาชนและภาคีเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน 6) พัฒนา ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน 7) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา ประเมิน และถ่ายทอดองค์ความรู้และ เทคโนโลยีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย 3

  4. พันธกิจที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือแพทย์พันธกิจที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือแพทย์ พันธกิจกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ควบคุมกำกับรับรองคุณภาพมาตรฐานและการบังคับใช้กฎหมายการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพและการพิทักษ์สิทธิของ ประชาชน พันธกิจกองวิศวกรรมการแพทย์ พัฒนาระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการประกัน และควบคุม กำกับ รับรอง มาตรฐานและการบังคับใช้กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิศวกรรม การแพทย์ 4

  5. ภารกิจกองวิศวกรรมการแพทย์ภารกิจกองวิศวกรรมการแพทย์ • 1) พัฒนาระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการประกัน และควบคุม กำกับ รับรองมาตรฐานและการบังคับใช้กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิศวกรรมการแพทย์ • 2) พัฒนาขีดความสามารถของภาคีเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภค • ด้านวิศวกรรมการแพทย์ • 3) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา ประเมิน ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี • การคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิศวกรรมการแพทย์ • 4) พัฒนาและประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค • ด้านวิศวกรรมการแพทย์ • 5) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง • หรือที่ได้รับมอบหมาย

  6. กองวิศวกรรมการแพทย์ วิสัยทัศน์

  7. คำนิยามของเครื่องมือแพทย์คำนิยามของเครื่องมือแพทย์ (Medical Equipment) เครื่องมือทั้งที่ติดตั้งถาวรหรือแบบเคลื่อนย้ายได้ที่ใช้สำหรับ ตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) รักษา (Treatment) ติดตามเฝ้าระวัง (Monitoring) และให้การดูแลผู้ป่วยโดยตรง (Direct care) การระงับความรู้สึก รังสีวิทยาและภาพวินิจฉัย หทัยวิทยา รังสีรักษา และ บริการที่มีความเสี่ยงสูงอื่นๆ

  8. เครื่องมือมาตรฐานปฐมภูมิเครื่องมือมาตรฐานปฐมภูมิ (Primary Standard) เครื่องมือวัดทางการแพทย์ทุกประเภทจำเป็นต้องได้รับการสอบเทียบจากเครื่องมือมาตรฐานด้านนั้นๆที่มีความถูกต้อง แม่นยำสูงกว่า เพื่อให้ผลการวัดมีความถูกต้องแม่นยำตามต้องการ เครื่องมือมาตรฐานนั้นก็จำเป็นต้องได้รับการสอบเทียบมาจากเครื่องมือมาตรฐานในสาขาการวัดเดียวกันที่มีความแม่นยำสูงกว่าขึ้นไปอีกตามลำดับ ขั้นตอนดังกล่าวสิ้นสุดที่เครื่องมือประเภทหนึ่งที่ไม่ต้องการการสอบเทียบจากเครื่องมือมาตรฐานสาขาการวัดเดียวกันอื่นใดอีกเรียกว่า เครื่องมือมาตรฐานปฐมภูมิ (Primary Standard)

  9. เครื่องมือมาตรฐานอ้างอิงเครื่องมือมาตรฐานอ้างอิง Length, Mass, Time, Electric current, Thermodynamic temperature, • Amount of substance, Luminous intensity,Metre (m), Kilogram (kg), Second (s), Ampere (A), Kelvin (K(cd)), Mole (mol), Candela มาตรฐานสากล SI units Length, Mass, Time, Electric current, Thermodynamic temperature, • Amount of substance, Luminous intensity,Metre (m), Kilogram (kg), Second (s), Ampere (A), Kelvin (K(cd)), Mole (mol), Candela มาตรฐานระดับชาติ National primary standards Reference standards/ Second-level standards ห้องบริการสอบเทียบ Working standards เครื่องมือวัดทางการแพทย์ ลูกค้า/ผู้ใช้งาน 9

  10. สถานการณ์/แนวโน้มการสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ • การทดสอบ สอบเทียบ และการบำรุงรักษา อุปกรณ์ทางการแพทย์ปัจจุบัน ยังไม่มีเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ใช้ร่วมกัน • ผู้ที่มีหน้าที่ ทำการทดสอบ สอบเทียบ และบำรุงรักษา อุปกรณ์ทางการแพทย์ ต่างกำหนดเกณฑ์และวิธีการทดสอบของตัวเอง ซึ่งอาจไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล • การทดสอบ สอบเทียบ และการบำรุงรักษา อาจไม่ครอบคลุมทั้งด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยของอุปกรณ์ทางการแพทย์ ทำให้ผู้ป่วยอาจมีความเสี่ยงจากการใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ 10

  11. กฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง • พรบ.เครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2551 กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • กำกับ ดูแล ผู้นำเข้า และ ผู้จำหน่าย • พรบ สถานพยาบาล (สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ) • กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ • กำกับดูแลโรงพยาบาลภาคเอกชน/คลินิค • พรบ.พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ.2504 • กำกับ ดูแล ด้านรังสีที่ใช้ในทางการแพทย์ 11

  12. การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความเป็นมา

  13. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ II – 3.2 เครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค (Equipment and Utility System) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีเครื่องมือที่จำเป็น พร้อมใช้งานทำหน้าที่ได้เป็นปกติ และมีระบบสาธารณูปโภคที่จำเป็นอยู่ตลอดเวลา ก. เครื่องมือ ข. ระบบสาธารณูปโภค แผนบริหารเครื่องมือ -> ปฏิบัติ (ได้ผล ปลอดภัย เชื่อถือได้) คัดเลือก / จัดหา, จัดทำบัญชีรายการ, ตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา, ให้ความรู้ผู้ใช้, แนวทางปฏิบัติเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน แผนบริหารระบบสาธารณูปโภค -> ปฏิบัติ (ได้ผล ปลอดภัย เชื่อถือได้) จัดทำบัญชีรายการ, แผนผังตำแหน่งที่ตั้ง, ตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา, แนวทางปฏิบัติฉุกเฉิน, ระบบปรับและระบายอากาศ 1 1 ระบบไฟฟ้าสำรองในจุดที่จำเป็น บำรุงรักษา ทดสอบ ตรวจสอบ เครื่องมือที่จำเป็นมีความพร้อมใช้ 2 2 ติดตามข้อมูลเพื่อปรับปรุง / จัดหาทดแทน 3 3 ติดตามข้อมูลเพื่อปรับปรุง / จัดหาทดแทน ระบบที่พร้อมใช้การ เชื่อถือได้ ปลอดภัย 13

  14. การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขการสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 883 แห่ง ได้รับการสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ 37 รายการ โดยใช้เครื่องมือมาตรฐาน 29 ชนิด จากกองวิศวกรรมการแพทย์และสำนักงานเขตสนับสนุนบริการสุขภาพทั้ง 12 เขต • โรงพยาบาล • สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข • 883 แห่ง • กองวิศวกรรมการแพทย์ สามารถให้บริการได้ เฉลี่ยร้อยละ 60 14

  15. สอบเทียบเครื่องมือแพทย์ที่ผ่านมา 3ปีย้อนหลัง เครื่องมือแพทย์ที่ได้รับการสอบเทียบมากขึ้นในแต่ละปีคิดเป็นร้อยละ 14สอดคล้องกับปริมาณของโรงพยาบาลที่ได้รับบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 10ต่อปี 15

  16. เครื่องมือแพทย์ที่ได้รับการสอบเทียบ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากกว่า 20%) 16

  17. เครื่องมือแพทย์ที่ได้รับการสอบเทียบ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากกว่า2%) 17

  18. เครื่องมือแพทย์ที่ได้รับการสอบเทียบ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้อยกว่า1%) 18

  19. ห้องปฏิบัติการสอบเทียบห้องปฏิบัติการสอบเทียบ

  20. แผนภูมิแสดงร้อยละ ประเภทการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐาน โดยห้องปฏิบัติการสอบเทียบกองวิศวกรรมการแพทย์ปี 2554-2556

  21. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาระงานการสอบเทียบ สำหรับสถานบริการสุขภาพ 21

  22. บทบาทของกองวิศวกรรมการแพทย์บทบาทของกองวิศวกรรมการแพทย์ • เป็นแกนหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนางานสอบเทียบในแต่ละสถานบริการสุขภาพ • เป็น Regulator งานสอบเทียบ • เป็นที่ปรึกษา และสถานที่ฝึกอบรม 22

  23. อนาคตของการสอบเทียบ • มีนโยบายเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ของภาครัฐและเอกชน • เสริมสร้างทางวิชาการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานการยอมรับ วิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดทางการแพทย์ของประเทศ • พัฒนาระบบการสอบเทียบให้โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ดำเนินการเองเครื่องมือแพทย์พื้นฐาน • ส่งเสริมให้โรงพยาบาลตระหนัก ให้มีการบำรุงรักษาสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ ทุกชนิด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ส่งเสริมหน่วยงานภาคเอกชนดำเนินกิจการการสอบเทียบเครื่องมือแพทย์การกำกับให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล 23

  24. อนาคตของการสอบเทียบ • สร้างคน เพื่อเสริมทีมสอบเทียบให้แข็งแกร่งและยั่งยืน • ประสานงานความร่วมมือกับสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา เสริมหลักสูตรการบำรุงรักษา สอบเทียบเครื่องมือแพทย์ ผลิตนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชชาชีพชั้นสูง ปริญญาตรี • ร่วมสมาคมวิชาชีพจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาอาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์ การพัฒนาบุคลากรรองรับภาระงานวิชาชีพและการแข่งขันของประเทศและภายนอก 24

  25. การเตรียมความพร้อมของการไหลบ่าเข้ามาของเครื่องมือแพทย์และผู้ใช้ จากการเปิดพรมแดนของกลุ่มประเทศอาเซี่ยน ในปี พศ. ๒๕๕๘ (AEC :2015

  26. การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ และงานวิจัย

  27. อนาคตของการสอบเทียบ • มีนโยบายเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ของภาครัฐและเอกชน โดยเน้นประเด็นหลักความร่วมมือทางเทคโนโลยี วิทยาการที่ทันสมัย และทีมวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ • สร้างคน เพื่อเสริมทีมสอบเทียบให้แข็งแกร่งและยั่งยืน • การเตรียมความพร้อมของการไหลบ่าเข้ามาของเครื่องมือแพทย์และผู้ใช้ จากการเปิดพรมแดนของกลุ่มประเทศอาเซี่ยน ในปี พศ. ๒๕๕๘ (AEC :2015) • การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ และงานวิจัย 27

  28. ความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านวิศวกรรมการแพทย์ความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านวิศวกรรมการแพทย์ • 1 ประชุมปรึกษาหารือความร่วมมือการพัฒนาบุคลากร การกำหนดแผนงานร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา • 2. โครงการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาอาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์ 28

  29. กองวิศวกรรมการแพทย์ ได้จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การพัฒนามาตรวิทยาด้านเครื่องมือแพทย์ ระหว่าง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกับสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2554 ณ.ห้องประชุมชั้น 8 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 29

  30. กองวิศวกรรมการแพทย์ ได้จัดทำการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการตรวจสอบมาตรฐานเครื่องเอกซเรย์ ระหว่าง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กับ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2556 ณ.ห้องประชุมอุทัย สุดสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 30

  31. ขอบคุณ… 31 http://medi.moph.go.th/

More Related