1 / 45

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านช้าง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านช้าง. อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู. พิชิตโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สีและวิถีการแพทย์แผนไทย นางสาวสุภาวดี พรหมราช ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาว นิรวรรณ เกิด มะเลิง ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย.

grace
Download Presentation

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านช้าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านช้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านช้าง อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู

  2. พิชิตโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงพิชิตโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สีและวิถีการแพทย์แผนไทย นางสาวสุภาวดี พรหมราช ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวนิรวรรณ เกิดมะเลิง ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย

  3. จำนวนประชากร 11,462 คนรับผิดชอบ 14 หมู่บ้าน 2,399 หลังคาเรือนนสค: ประชากร 1: 1,273 ข้อมูล กรกฎาคม 2556

  4. ความเป็นมาและความสำคัญ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรับการรักษาที่ รพ.สต.ด่านช้าง ปี 2556

  5. ความเป็นมาและความสำคัญ

  6. ทีมสหวิชาชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีร่วมคิด/ องค์กรภาคี รูปแบบการดูแลผู้ป่วย ฐานที่2 การกินดี ฐานที่ 1 รู้เรื่อง/เข้าใจเบาหวาน การเกิดกลุ่ม ดอกคูณ ทานตะวัน ดอกมะลิ ฐานที่4 การใช้ยา เครือข่าย อสม.,อบต. ภาคีเครือข่าย ฐานที่3 การออกกำลังกาย

  7. ความเป็นมาและความสำคัญ ปี 2556 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน -ความดันโลหิตสูง การแพทย์แผนไทย ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี 3 อ. , 2 ส.

  8. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้ป่วยทราบสถานะความรุนแรงของโรคของตัวเอง ทำให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีการสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อลดระดับความรุนแรงของโรคและภาวะแทรกซ้อน 3.เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจและได้ดูแลตนเองตามแนวทางการแพทย์แผนไทย

  9. วัตถุประสงค์ 4. เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงแบบครบวงจร 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เน้นการทำงานเป็นทีมและการดูแลแบบองค์รวม

  10. วิธีการดำเนินงาน

  11. ทีมสหวิชาชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีร่วมคิด/ องค์กรภาคี รูปแบบการดูแลผู้ป่วย ฐานที่2 การกินดี ตามวิถีแผนไทย ฐานที่ 1 แยกสี,รู้เรื่อง/เข้าใจเบาหวาน การเกิดกลุ่ม ดอกคูณ ทานตะวัน ฐานที่4 การใช้ยา เครือข่าย อสม.,อบต. ภาคีเครือข่าย ฐานที่3 การออกกำลังกาย

  12. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังก่อนเข้าฐานการดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังก่อนเข้าฐาน อุปกรณ์ - เครื่องมือ

  13. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังก่อนเข้าฐานการดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังก่อนเข้าฐาน การตรวจวัดค่าน้ำตาลในเลือด และวัดความดันผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามนัด

  14. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังก่อนเข้าฐานการดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังก่อนเข้าฐาน การแยกสีผู้ป่วยตามปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

  15. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 1 การแยกกลุ่มสีผู้ป่วยตามปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

  16. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 1 การแยกกลุ่มสีผู้ป่วยตามปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

  17. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 1 การให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  18. การดำเนินงาน

  19. การดำเนินงาน

  20. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 2 การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 2 กินดีตามวิถีแพทย์แผนไทย

  21. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 2 การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 2 กินดีตามวิถีแพทย์แผนไทย

  22. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 3 การออกกำลังกาย

  23. การดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรังฐานที่ 4 การใช้ยา

  24. การดูแลสุขภาพตามวิถีไทยการดูแลสุขภาพตามวิถีไทย การนวดไทยและประคบสมุนไพรในผู้ป่วยที่มีอาการปวดเมื่อย ชามือชาเท้า

  25. การดูแลสุขภาพตามวิถีไทยการดูแลสุขภาพตามวิถีไทย การตรวจเท้าผู้ป่วยและนวดเท้าด้วยตนเอง

  26. การพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนการพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โครงการนวดไทยในโรงเรียน หลักสูตรนวดฝ่าเท้าลดอาการชา

  27. การพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนการพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน การออกติดตามเยี่ยมในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (สีดำ)

  28. การพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนการพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ชุมชนร่วมใจ อสม.เข้มแข็ง

  29. การพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนการพัฒนาและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ท้องถิ่นเกื้อกูล

  30. ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมารับยาที่ รพ.สต.196 คน เบาหวาน 70 คน ความดันโลหิตสูง 92 คน เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 34 คน

  31. ผลการดำเนินงาน คน แผนภูมิที่1แสดงปิงปองจราจรชีวิต ของผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 70คน

  32. ผลการดำเนินงาน คน แผนภูมิที่2แสดงปิงปองจราจรชีวิต ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน92 คน

  33. ผลการดำเนินงาน คน แผนภูมิที่3แสดงปิงปองจราจรชีวิต ของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 34คน

  34. สรุปผลการดำเนินงานการตรวจภาวะแทรกซ้อนสรุปผลการดำเนินงานการตรวจภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูง

  35. ผลการดำเนินงาน การตรวจตาในผู้ป่วยเบาหวาน เดือนกรกฎาคม 2556

  36. ผลการดำเนินงาน การตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน เดือนกรกฎาคม 2556 หมายเหตุ ที่ไม่ได้ตรวจคือไม่อยู่ในขณะที่ตรวจ หรือไปต่างจังหวัด ไปอาศัยอยู่ทีอื่น

  37. ผลการดำเนินงาน การตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน เดือน มิถุนายน 2556

  38. ผลการดำเนินงาน ผลตรวจ microalbuminuria

  39. ผลการดำเนินงาน ผลตรวจ HbA1C

  40. ประโยชน์ที่ได้รับ 1.ผู้ป่วยทราบสถานะความรุนแรงของตัวเอง ทำให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ 2.ได้เผยแพร่ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยและญาติ 3.ได้พัฒนาคุณภาพบริการ การจัดบริการที่เป็นองค์รวม

  41. ประโยชน์ที่ได้รับ 5. ได้สนับสนุนแนวทางในการพึ่งตนเอง 6. ได้พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน และเครือข่ายสุขภาพ นำไปสู่ความยั่งยืนของการดำเนินงานต่อไป 8. ได้พัฒนาและบูรณาการองค์ความรู้ระหว่างแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบัน

  42. แนวทางการพัฒนา • พัฒนาบริการ การดูแลรักษา ลดความแออัดจากโรงพยาบาล • การสนับสนุนภาคภาคีเครือข่ายในชุมชน • จัดกิจกรรมกลุ่ม self help group • ลดระดับความรุนแรงของโรคในแต่ละระดับสี เป็น 5 %

  43. ปัญหาและอุปสรรค • สูงอายุ • ปัจจัยส่วนบุคคล • สภาพร่างกาย

  44. สรุปและข้อเสนอแนะ • สรุปและข้อเสนอแนะ ผู้ป่วยมีความเข้าใจและสนใจปิงปองจราจรชีวิต 7 สี มีความรู้ ความเข้าใจถึงความรุนแรงของโรค พึงพอใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การอบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องศาสตร์การดูแลสุขภาพตามวิถีไทย ต่อไป

  45. ขอบคุณที่รับฟังและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เติมพลังแห่งความสร้างสรรค์

More Related