330 likes | 563 Views
นว ตก รรม ทางการพยาบาล. กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลกำแพงแสน. DRUG HIGH ALERT NURSE ช่วยได้. อุษา วีรเดชกำพล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ. ความสำคัญของปัญหา. จากการทบทวน IR - แพทย์สั่งยา HAD พยาบาลให้ผิดชนิดจากรับคำสั่งผิด
E N D
นวตกรรมทางการพยาบาล กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลกำแพงแสน
DRUG HIGH ALERT NURSE ช่วยได้ อุษา วีรเดชกำพล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความสำคัญของปัญหา จากการทบทวนIR -แพทย์สั่งยาHAD พยาบาลให้ผิดชนิดจากรับคำสั่งผิด -ผู้ป่วยได้รับยาHAD ที่ใส่เครื่องกำกับการไหลของสารน้ำแต่ญาติไม่ทราบถอดออกจากเครื่องพาผู้ป่วยเข้าห้องน้ำ
ความสำคัญของปัญหา(ต่อ)ความสำคัญของปัญหา(ต่อ) HIGH VOLUME 3H HIGH COST HIGH RISK COMPLICATION
ความคลาดเคลื่อนทางยาของรพ.กำแพงแสนความคลาดเคลื่อนทางยาของรพ.กำแพงแสน ความคลาดเดลื่อนของยาHAD ในรพ.กำแพงแสน
ค่าใช้จ่ายสูงเมื่อเกิดเหตุค่าใช้จ่ายสูงเมื่อเกิดเหตุ HIGH COST สูญเสียชีวิต สูญเสียทรัพย์สิน สูญเสียบุคคลากร HIGH RISK
การเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา การเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา หัวใจสำคัญของการวัดที่มีความหมายและช่วยป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาอย่างได้ผล การลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ความคลาดเคลื่อนที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วยเกิดขึ้นนานๆครั้ง แต่โอกาสที่จะเกิดอันตรายบางครั้งอาจไม่มีการรายงาน ความพยายามในการป้องกันความคลาดเคลื่อนจะได้ผลดีหากเน้นไปที่ยาเฉพาะตัวซึ่งมีโอกาสสูงเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วย คือกลุ่มยาHAD
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อลดการเกิดความไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาHAD 2.สร้างความตระหนักในการใช้ยากลุ่มHAD 3.สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ป่วยและญาติ
ตัวชี้วัดของโครงการ อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาHAD 0%
วันที่เริ่มต้นโครงการ : 30 กรกฎาคม 52
Corevalue&Concept : การทำงานเป็นทีม ตัวชี้วัด:อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนของยาHAD เท่ากับศูนย์ Check Criteria: -การกำหนดรายการยาที่เผ้าระวัง -จัดระบบการป้องกันอันตรายให้ครอบคลุมตั้งแต่ การจัดหา การจัดเก็บ การสั่งใช้ การจ่าย การเตรียม และการบริหารยา -กำหนดเกณฑ์ที่ชัดเจนในการเฝ้าระวัง เกณฑ์ การรายงานแพทย์ การติดตามประเมินผล และสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจ และปฏิบัติได้ เป้าหมาย:อัตราการเกิดเหตุไม่พึงประสงค์จากการบริหารยาHADเท่ากับศูนย์ Do Act Plan Context: เป็นหน่วยงานที่มีผู้รับบริการมากมีการใข้ยาHAD ในแต่ละปีสูง การใช้ยาHAD ในแต่ละปีเพิ่มขึ้น
PLAN 1.ชี้แจงยากลุ่มยาHADที่หน่วยงานใช้ประจำและเป็นยาHADที่ทางห้องยากำหนด 2.มอบหมายงานแต่ละหน้าที่ให้กับเจ้าหน้าที่ในงาน การหาข้อมูลเกี่ยวกับยาHAD การบริหารยาHAD ในรพ.กพส. กับยาHAD ในรพ.ต่างๆ
PLAN (ต่อ) 3.จัดระบบการจัดการความรู้เรื่องยาHAD ในหน่วยงานในเรื่องระบบการบริหารยา 4.ชี้แจงและทบทวนระบบการบริหารยาและการเก็บอุบัติการณ์ในการให้ยาHAD 5.ประเมินผลการดำเนินงานและความพึงพอใจผู้ปฏิบัติงาน
DO: การดำเนินงาน -ประชุมมอบหมายการทำงาน -การหาข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มยาHAD -การจัดทำสื่อที่ใช้ในการเฝ้าระวังการใช้ยาHAD -นำความรู้มาจัดทำในรูปแบบKM -การทำแนวทางปฏิบัติในการให้ยาHAD เกณฑ์ในการเฝ้าระวัง เกณฑ์ในการรายงานแพทย์ การติดตามประเมินผล -การทำแบบในการเก็บข้อมูลอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น
CHECK: การตรวจสอบ -เก็บข้อมูลจากอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น
ACT : การปรับปรุงแนวทางที่กำหนด วิเคราะห์แนวทางที่ปฏิบ้ติ ปรับปรุงแนวทางที่ปฏิบัติ และหลังปรับแนวทางเก็บข้อมูลอีกครั้ง
การปรับปรุงที่เกิดขึ้นการปรับปรุงที่เกิดขึ้น
ภาพขั้นตอนการดำเนินงานภาพขั้นตอนการดำเนินงาน
ภาพขั้นตอนการดำเนินงานภาพขั้นตอนการดำเนินงาน
ภาพคู่มือการใช้ยาHAD/การตรวจสอบภาพคู่มือการใช้ยาHAD/การตรวจสอบ
Adrenaline Injection แนวทางการบริหารยา 1.ใช้ในกรณี แก้แพ้ยา หลอดลมตีบ หัวใจหยุดเต้น ความดันโลหิตต่ำอย่างรุนแรง 2.ผลข้างเคียง คลื่นไส้ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ สั่น วิงเวียน หน้ามืด 3.ข้อควรระวัง ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หยุดหายใจ อาจเกิด ventricular fibrillation, pulmonary edema ซึ่งถึงแก่ชีวิตได้ บทบาทของพยาบาล 1.ตรวจดู vital sign: BP ทุก 3-5 นาที, pulse rate 2.รายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบอาการ tachycardia, palpitation, BP สูง 3.ตรวจดู IV site เพราะอาจเกิด tissue necrosis ได้ ถ้ามียารั่วออกมา
ผลสำเร็จของงาน(ตัวชี้วัดของโครงการ)ผลสำเร็จของงาน(ตัวชี้วัดของโครงการ) อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาHAD เท่ากับ 0% สร้างระบบการจัดการความรู้เรื่อง ยาHAD
แผนที่จะดำเนินการต่อไปแผนที่จะดำเนินการต่อไป ติดตามนิเทศ สุ่มตรวจสอบการปฏิบัติตามกระบวนการ สร้างแบบบันทึกในการติดตามการใช้ยาHAD
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดำเนินงานสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดำเนินงาน กระบวนการทำงานคุณภาพ การทำงานเป็นทีม การเก็บข้อมูล การปรับการทำงานเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
THANK S FOR YOUR ATTENTION