931 likes | 2.02k Views
เทคนิค การอนุรักษ์พลังงาน ด้านเครื่องกล และ กรณีศึกษา ของ มาตรการอนุรักษ์พลังงาน. เทคนิค การอนุรักษ์พลังงาน ด้านเครื่องกล. วิธีการดำเนินการ 3 ส่วน หลักๆ ดังนี้ การสำรวจข้อมูลการใช้พลังงาน การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน การประเมินศักยภาพและมาตรการอนุรักษ์พลังงาน.
E N D
เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานเทคนิคการอนุรักษ์พลังงาน ด้านเครื่องกล และกรณีศึกษาของ มาตรการอนุรักษ์พลังงาน
เทคนิคการอนุรักษ์พลังงาน ด้านเครื่องกล • วิธีการดำเนินการ 3 ส่วน หลักๆ ดังนี้ • การสำรวจข้อมูลการใช้พลังงาน • การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน • การประเมินศักยภาพและมาตรการอนุรักษ์พลังงาน
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน ขั้นตอนการดำเนินการสำรวจการใช้พลังงาน
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน “ความรู้พื้นฐาน ก่อนการตรวจวัดการใช้พลังงาน”
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน “แบบสถาปัตย์และผังอาคาร”
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน ผังอาคารทำให้ไม่หลงและตรวจวัดได้ครบถ้วน
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน รูปแปลนอาคารจะให้ข้อมูลระยะต่างๆ และห้องที่ทำการตรวจวัด
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน “แบบงานไฟฟ้า”
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน Single Line Diagram จะช่วยในการกำหนดแผนการวัดเครื่องจักร/อุปกรณ์ต่างๆได้อย่างดี
บทที่ 3การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน Riser Diagram จะช่วยในการกำหนดตำแหน่งเครื่องจักร/อุปกรณ์ต่างๆได้อย่างดี
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน “การตรวจวัดการใช้พลังงาน”
การสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงานการสำรวจและตรวจวัดข้อมูลการใช้พลังงาน • ข้อมูลสำหรับวิเคราะห์การใช้พลังงานภายในอาคารสามารถแบ่งออกเป็น • ข้อมูลตามระบบต่างๆ ดังนี้ • ระบบส่งจ่ายไฟฟ้า • ระบบปรับอากาศแบบหน่วยเดียว • ระบบแสงสว่าง • มอเตอร์ • พัดลม • เครื่องสูบน้ำ • เครื่องอัดอากาศ • เครื่องเชื่อมไฟฟ้า • อุปกรณ์ทางไฟฟ้าอื่นๆ • ข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ค่า OTTV และ RTTV • .. • .. • .. • ..
การสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • เครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว • เครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว หมายถึง • เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type) • เครื่องปรับอากาศแบบติดหน้าต่าง (Window Type) • เครื่องปรับอากาศแบบเป็นชุด (Packaged Unit)
Split Type Fan coil Unit Condensing Unit
เครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียวเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว คอนเดนซิ่งยูนิต: กำลังไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ด้านจ่ายลมเย็น : อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณลมเย็น ด้านลมระบายความร้อนออก : อุณหภูมิ ความชื้น ด้านลมเย็นกลับ : อุณหภูมิ, ความชื้น, ปริมาณลมกลับ ด้านลมระบายความร้อนเข้า : อุณหภูมิ ,ความชื้น ,ปริมาณลมเข้า
เครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียวเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว “การตรวจวัดภาคไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว” ค่าที่ได้ไม่ควรต่ำกว่า 1 kW ต่อตันความเย็น
เครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียวเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว “การตรวจวัดภาคความร้อนของเครื่องปรับอากาศแบบหน่วยเดียว” ต้องระวังการวัดผิดพลาดช่วงคอมเพรสเซอร์หยุดการทำงาน
การสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • วิธีการสำรวจข้อมูล • 1. ขอรายการครุภัณฑ์แอร์จากพัสดุ (ขนาด จำนวน และอายุ) • 2. สำรวจข้อมูลจากหน้างานจริง • - อาคาร / ห้อง ที่ติดตั้งแอร์ • - ขนาด อายุ จำนวนแอร์ • - อุณหภูมิที่ตั้งไว้ • - เวลาการเปิดใช้งาน • - กำลังไฟฟ้าของแอร์ • 3. ตรวจสอบมาตรการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้น
การสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • การบันทึกข้อมูลจากการสำรวจ • สิ่งที่ต้องใช้ประกอบการบันทึกข้อมูล • 1. แบบฟอร์มการสำรวจข้อมูลแอร์ • 2. ตารางการใช้ kW ของแอร์ดูจาก • - อายุ • - ประสิทธิภาพ (เบอร์ 5 หรือไม่) • - ล้างทำความสะอาดหรือไม่
การสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • แบบฟอร์มการสำรวจข้อมูล พิจารณาจากอายุแอร์ < 5 ปี = 0.7 6-10 = 0.8 > 10 = 0.9 ได้จากการประมาณค่าตรวจวัด ข้อมูลจากการสำรวจและจากค่าประมาณการตรวจวัด ข้อมูลจากการสอบถามเจ้าหน้าที่ของอาคาร หมายเหตุ : กำลังไฟฟ้า (kW) ของแอร์ดูได้จากตารางการใช้งานทั่วไป
การสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • ตารางการประมาณค่า kW ของแอร์
การสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการสำรวจการใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • ตัวอย่างการกรอกข้อมูล
การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ หมายเหตุ : ค่ามาตรฐาน kW/TR อ้างอิงตามกฎกระทรวงของอาคารควบคุมปี 2538
การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ต่อปี kWh/Y = กำลังไฟฟ้า (kW) x ชม.ใช้งาน (hr/D) x วันใช้งาน (D/Y) x Factor ทำงาน • สัดส่วนการใช้พลังงาน สัดส่วนการใช้พลังงาน (%) = kWh/Y (Air) kWh/Y (หน่วยงาน) X 100
การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้า kWh/(m2-Y) = พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ของ Air(kWh/Y) พื้นที่ปรับอากาศ (m2)
การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • อัตราส่วนประสิทธิภาพพลังงาน (EER) EER = Btu/hr (จากการประเมินตามอายุ Air) kW ไฟฟ้า x 1,000 • หลักการประเมิน Btu/hr ที่ทำได้จริงจากอายุ Air • อายุ < 5 ปี คิด 90% จากพิกัด • อายุ 6 – 10 ปี คิด 80% จากพิกัด • อายุ > 10 ปี คิด 70% จากพิกัด
การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศการวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ • กำลังไฟฟ้าต่อตันความเย็น ตันความเย็น (TR) =Btu/hr (จากการประเมินตามอายุ Air) 12,000 kW/TR = kW ไฟฟ้า TR
ตัวอย่าง การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ จากข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ 1) พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ = 1.15 x 8 x 250 x 0.8 x 1 = 1,840.00 kWh/ปี
ตัวอย่าง การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ จากข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ อายุ 6 – 10 ปี คิด 80% จากพิกัด 2) ปริมาณความเย็นที่ทำได้ = 9,000 x 80% = 7,200 Btu/hr
ตัวอย่าง การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ จากข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ 2) ปริมาณความเย็นที่ทำได้ = 9,000 x 80% = 7,200 Btu/hr 3) EER = 7,200 / (1.15 x 1,000) = 6.26 Btu/hr-W
ตัวอย่าง การวิเคราะห์การใช้พลังงานเครื่องปรับอากาศ จากข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ 2) ปริมาณความเย็นที่ทำได้ = 9,000 x 80% = 7,200 Btu/hr 4) ตันความเย็น = 7,200 / 12,000 = 0.60 TR 5) กิโลวัตต์ต่อตันความเย็น = 1.15 / 0.60 = 1.92 kW/TR
การประเมินศักยภาพและมาตรการอนุรักษ์พลังงานการประเมินศักยภาพและมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ของเครื่องปรับอากาศ 1) มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (House keeping) - ปิดเครื่องปรับอากาศขณะที่ไม่มีการใช้งาน (ลดชั่วโมงการทำงาน) - ปิดแสงสว่าง, คอมพิวเตอร์, เครื่องถ่ายเอกสาร และอุปกรณ์ที่ผลิตความร้อน ในบริเวณที่มีการปรับอากาศ เมื่อไม่ได้ใช้งาน - ปรับตั้งอุณหภูมิเทอร์โมสตัทให้มีความเหมาะสม (25 oC) (เพิ่ม 1 oC ประหยัดได้ 6%) - ตรวจสอบแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศ ให้สะอาดและไม่เสียหาย - ปิดพัดลมระบายอากาศในช่วงที่มีการเปิดใช้เครื่องปรับอากาศ - ซ่อมแซมรอยรั่วของห้องไม่ให้มีการรั่วไหลของอากาศเย็นออกจากห้อง - ทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ (ประหยัดได้ 4%)
การประเมินศักยภาพและมาตรการอนุรักษ์พลังงานการประเมินศักยภาพและมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ของเครื่องปรับอากาศ 2) มาตรการการปรับปรุงกระบวนการ (Process Improvement) - ปรับปรุงตัวอาคาร เช่น ติดฉนวนกันความร้อน หาร่มเงาให้อาคาร - หาร่มเงาให้อาคารโดยการปลูกต้นไม้เพื่อบังแดด - ลดไฟแสงสว่างในบริเวณปรับอากาศ - เพิ่มการใช้แสงธรรมชาติ (เฉพาะด้านทิศเหนือ) - ปิดหน้าต่างที่ไม่ได้ใช้งาน - ติดตั้งอุปกรณ์ลดอุณหภูมิด้านอากาศขาเข้าที่คอนเดนซิ่งยูนิท 3) มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์ (Machine Change) - เปลี่ยนเครื่องปรับอากาศเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง
ตย.แบบประเมินมาตรการลดชั่วโมงการใช้งาน ตย.แบบประเมินมาตรการลดชั่วโมงการใช้งาน เครื่องปรับอากาศ
ตย.การคำนวณมาตรการลดชั่วโมงการใช้งาน ตย.การคำนวณมาตรการลดชั่วโมงการใช้งาน เครื่องปรับอากาศ
ตย.การคำนวณมาตรการลดชั่วโมงการใช้งาน ตย.การคำนวณมาตรการลดชั่วโมงการใช้งาน เครื่องปรับอากาศ
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. การปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกงาน 30 นาที มีการใช้งานเครื่องปรับอากาศในขณะที่มีภาระโหลด ความร้อนในห้องน้อยลงจำนวน 3 ชุด ขนาด 36,500 Btu/hr กำลังไฟฟ้าของ Air = 4.30 kW สภาพก่อนปรับปรุง การใช้งาน : 8 ชม./วัน 250 วัน/ปี Factor = 0.80
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. การปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกงาน 30 นาที สำหรับช่วงเวลาก่อนเลิกงาน 30 นาที ยังมีความเย็น หลงเหลือพอกับความต้องการของภาระโหลด แนวคิดใน ปรับปรุง สามารถปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกงาน 30 นาที ส่งผลให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. การปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกงาน 30 นาที เกิดการประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้ โดยที่ไม่กระทบต่อ การปฏิบัติงานและภาระโหลดอื่นๆ ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้า 1,290.00 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 4,515.00 บาท/ปี สภาพหลังปรับปรุง
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. การปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกงาน 30 นาที แฟคเตอร์การทำงาน กำลังไฟฟ้า ชั่วโมงใช้งาน วันใช้งาน ก่อนปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ = 4.30 x 8x 250 x 0.8 x 3 = 20,640.00 kWh/ปี หลังปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ = 4.30 x 7.5 x 250 x 0.8 x 3 = 19,350.00 kWh/ปี ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 20,640.00 - 19,350.00 = 1,290.00 kWh/ปี คิดเป็นเงิน = 1,290.00x 3.50 (ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย 3.50 บาท/kWh) = 4,515.00 บาท/ปี จำนวน การคำนวณ ผลการอนุรักษ์ฯ ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศอย่างสม่ำเสมอ เครื่องปรับอากาศ ขนาด 12,000 Btu/hrจำนวน 25 ชุด ขาดการล้างทำความสะอาด กำลังไฟฟ้าของ Air = 1.45 kW การใช้งาน : 8 ชม./วัน 250 วัน/ปี Factor = 0.90 สภาพก่อนปรับปรุง
1) มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศอย่างสม่ำเสมอ ควรทำการล้างทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศอย่าง สม่ำเสมอ ทั้งชุด Fan coil และ Condensing โดยมีการ ล้างทำความสะอาด 1 ครั้งต่อเดือน พบว่าประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 4% แนวคิดในปรับปรุง
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศอย่างสม่ำเสมอ เครื่องปรับอากาศมีการแลกเปลี่ยนความร้อนดีขึ้น และมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น 4% เกิดการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ลงได้ 4% สภาพหลัง ปรับปรุง ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้า 275.20 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 825.60 บาท/ปี
มาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาตรการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศอย่างสม่ำเสมอ ก่อนปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ = 4.30 x 8 x 250 x 0.8 x 1 = 6,880.00 kWh/ปี ผลประหยัด ผลประหยัด = 4 % พลังงานไฟฟ้า = 6,880.00 x (4 / 100) = 275.20 kWh/ปี คิดเป็นเงิน = 275.20x 3.00 (ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย 3.00 บาท/kWh) = 825.60 บาท/ปี การลงทุน เงินลงทุน = 300.00 บาท ระยะคืนทุน = 0.36 ปี การคำนวณ ผลการอนุรักษ์ฯ
มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์ 1. การเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศชนิดประสิทธิภาพสูง (High EER Air) เครื่องปรับอากาศ ขนาด 36,500 Btu/hrจำนวน 1 ชุด อายุการใช้งาน 10 ปี กำลังไฟฟ้าของ Air = 4.30 kW สภาพก่อนปรับปรุง การใช้งาน : 8 ชม./วัน 250 วัน/ปี Factor = 0.7
มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์ 1. การเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศชนิดประสิทธิภาพสูง (High EER Air) ควรทำการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูง (High EER Air) มาทดแทนเครื่องปรับอากาศเดิมที่มี อายุตั้งแต่ 10 ปี เนื่องจากเครื่องปรับอากาศใหม่ จะมี ประสิทธิภาพในการทำความเย็นได้ดีกว่า แนวคิดในปรับปรุง ให้เครื่องปรับอากาศใหม่ทำงานให้ได้ความเย็นเท่าเครื่อง ปรับอากาศเก่าแต่ใช้เวลาน้อยกว่า
มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์มาตรการด้านการเปลี่ยนอุปกรณ์ 1. การเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศชนิดประสิทธิภาพสูง (High EER Air) เครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง (EER = 10.6 Btu/hr-W) จะทำงานโดย ใช้ kW และ เวลาน้อยกว่าเครื่องปรับอากาศเก่าในการทำความเย็นเท่ากัน ทำให้เกิดการประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้ ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้า 2,648.80 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 7,946.40 บาท/ปี สภาพหลังปรับปรุง