1.1k likes | 1.9k Views
คำถามเพื่อนำไปสู่กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา. ลักษณะแผน( Plan ) ที่ดี. ตรวจสอบตนเองว่า แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นแผนที่ดี หรือไม่. ๑. ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
E N D
คำถามเพื่อนำไปสู่กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาคำถามเพื่อนำไปสู่กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ตรวจสอบตนเองว่า แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นแผนที่ดี หรือไม่ ๑. ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ๒. กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายความสำเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ๓. กำหนดวิธีการดำเนินการที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ ๔. ครอบคลุมเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพของ ร.ร. ทั้ง ๗ ด้าน (หลักสูตร,การจัดประสบการณ์การเรียนรู้, กระบวนการเรียนรู้, การส่งเสริมการเรียนรู้, การวัดและประเมินผล, การพัฒนาบุคลากร, และการบริหารจัดการ) ๕. กำหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ
ตรวจสอบตนเองว่า แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นแผนที่ดี หรือไม่ ๖.กำหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรรับผิดชอบ/ผู้เรียนดำเนินงานตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗.กำหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง บิดา มารดา องค์กรชุมชน ๘.กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ๙.จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓-๕ ปี)
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
หน่วยงาน และสภาพแวดล้อม คู่แข่ง/ผู้รับประโยชน์ สังคม วัฒนธรรม การเมืองและกฎหมาย หน่วยงาน คน เงิน อุปกรณ์ การจัดการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์กร ระบบ การส่งมอบบริการ ค่านิยมร่วม เทคโนโลยี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เศรษฐกิจชุมชน และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
วิเคราะห์สถานภาพของสถานศึกษา โดยเครื่องมือ SWOT ‘Where are we now?’ • วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อหน่วยงาน (เชิงบวก/เชิงลบ) • ตอบคำถาม “ปัจจุบันหน่วยงานเราอยู่ ณ จุดใด?” • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholder) • สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก(สภาพแวดล้อมภายใน/ภายนอก)
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อหน่วยงาน (เชิงบวก/เชิงลบ) • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholder) (เน้นบริการที่ต้องการ/ความคาดหวัง) • Internal Stakeholder : นักเรียน/ครู/บุคลากรทางการศึกษา • Marketplace Stakeholder : ผู้ปกครอง สถานประกอบการ ผู้รับจ้าง/ซื้อ/ขายพัสดุ • External Stakeholder: สมศ./ชุมชน/อปท./สื่อสารมวลชน/NGO/กลุ่มการเมือง
External Environment STEPSocio / Cultural Factor Technological Factor Economic Factor Political and Legal Factor C- PEST (มุ่งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/สภาพคู่แข่ง/การแข่งขัน) • Customer Behaviors • Political and Legal Factor • Economic Factor • Socio / Cultural Factor • Technological Factor
External Environment :C-PEST/ STEP • Customer Behaviors :ผู้รับประโยชน์ที่อยู่โดยรอบ/คู่แข่ง • Socio-cultural Factors (ความต้องการของผู้รับบริการ โครงสร้างของประชากร การศึกษา อนามัย อาชีพ ความรู้ เจตคติ พฤติกรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี กระแสวัฒนธรรมต่างประเทศ ฯลฯ) • Technological Factors (นวัตกรรม ความมีอยู่ของเทคโนโลยี ฯลฯ)
External Environment • Economic Factors (ภาวะทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การกดดันทางการค้า AEC ฯลฯ) • Political and Legal Factors รวมถึง Physical Factors (เสถียรภาพของรัฐบาล นโยบายของพรรคการเมือง กฎหมาย กฎบัตรสหประชาชาติ สนธิสัญญาและอนุสัญญา สภาพทางภูมิศาสตร์ ดินฟ้าอากาศ ภัยธรรมชาติ ฯลฯ)
External Environmentเพื่อให้แม่นยำ เชื่อถือได้ ต้อง.- • ตรวจสอบ(Scanning) สภาพแวดล้อมที่เป็นโอกาส/หรืออุปสรรค มีอะไรบ้าง • พยากรณ์(Forecasting) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เช่น การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อเตรียม กลยุทธ์ให้เหมาะสมกับการบริหารของหน่วยงาน
Internal Environment • แบบ 2 S 4 M • Structure, Service, Man, Money, Material, Management, • แบบ 7 S (ของ Mckincy) • Structure, Strategy, System, Style, Staff, Skills, Shared values
Internal Environment : 2S4M • Structure and Policy (โครงสร้างองค์กร นโยบาย ฯลฯ) • Service (ผลผลิตและผลลัพธ์ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ฯลฯ) • Manpower(อัตรากำลัง คุณภาพบุคลากร การบริหารบุคคล ฯลฯ) • Money (ประสิทธิภาพด้านการเงิน การะดมทุน ฯลฯ) • Materials(วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ยานพาหนะ อาคารสถานที่ฯลฯ) • Management(กระบวนการ ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์กร ฐานข้อมูลและสารสนเทศ ระบบการวางแผนและประเมินผล การสื่อสารภายใน การสร้างเครือข่าย พหุภาคี ฯลฯ)
7’ S ของ McKinsey Structure Strategy Systems Shared Value Skill Style Staff
เราจะนำข้อมูลเหล่านี้ร่วมวิเคราะห์ ประกอบด้วย • อัตราการเข้าเรียน(อัตราส่วนนักเรียนต่อประชากร) • อัตราการเลื่อนชั้น • อัตราการซ้ำชั้น • อัตราการออกกลางคัน • อัตราการเรียนต่อย้อนหลัง(4 ปี และปีปัจจุบัน)
ครูและบุคลากรทางการศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษา • จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา วุฒิครูและบุคลากรทางการศึกษา • อัตราส่วนนักเรียนต่อครู และอัตราส่วนครูต่อห้องเรียน • ความขาด / เกิน ของอัตรากำลังครูในโรงเรียน • อาคารเรียนและอาคารประกอบครุภัณฑ์ • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายชั้น และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้
คุณภาพการให้บริการการศึกษา คุณภาพการให้บริการการศึกษา • ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ของ สมศ. • NT, O-NET, LAS • สรุปสภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในอดีต • โอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ย้อนหลัง 4 ปี และปีปัจจุบัน) • คุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ย้อนหลัง 4 ปี และปีปัจจุบัน) • การคาดคะเนการจัดการศึกษาในอนาคต (ล่วงหน้า 4 ปี)
ขั้นตอนที่ ๔ นำผลวิเคราะห์จาก ขั้นที่ ๓ มากำหนดเป็น
ขั้นตอนที่ ๕ กำหนดกลยุทธ์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ชื่อโครงการ/กิจกรรม
๕.๒ กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ : พิจารณาจากเป้าหมาย แต่ละเป้าหมาย ตัวอย่าง
๕.๓ กำหนดชื่อโครงการ/กิจกรรม : สอดคล้องกลยุทธ์ เป็นรูปธรรม นำไปปฏิบัติได้ ตัวอย่าง
สรุปสาระสำคัญ ในเอกสารแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓-๕ปี)
ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษาขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา
รูปเล่ม แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา
ตัวอย่างการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี • เว็ปไซด์ กลุ่มนโยบายและแผน สพป.อบ.๓ • http://202.143.185.24/plan2/attachments/article/80/a-0785.pdf