360 likes | 577 Views
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้. Methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท. Bum. Kae. Pang. หลักการและเหตุผล. โรคจิตเภท อุบัติการณ์ 0.1-0.5 ต่อ 1 , 000 ความชุก 2.5-5.3 ต่อ 1 , 000 ความชุกโดยคำนวณตลอดชีวิต ( Lifetime prevalence) 7.0-9.0 ต่อ 1 , 000 เป็นโรคเรื้อรัง. ผู้ติดยาบ้า 300,000 คน
E N D
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ Methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท Bum Kae Pang
หลักการและเหตุผล • โรคจิตเภท • อุบัติการณ์ 0.1-0.5 ต่อ 1,000 • ความชุก 2.5-5.3 ต่อ 1,000 • ความชุกโดยคำนวณตลอดชีวิต (Lifetime prevalence) 7.0-9.0 ต่อ 1,000 • เป็นโรคเรื้อรัง • ผู้ติดยาบ้า 300,000 คน • โรคจิตเภทที่เกิดตามหลังการเลิกใช้ยาบ้าเพิ่มขึ้น
คำถามหลัก การใช้ methamphetamine เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคจิตเภทหรือไม่ • คำถามรอง 1. การใช้ methamphetamine ในเพศชายเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด โรคจิตเภทหรือไม่ 2. การใช้ methamphetamine ในเพศหญิงเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด โรคจิตเภทหรือไม่ 3. การใช้ methamphetamine นานเท่าใดที่มีผลต่อการเกิดโรคจิตเภท 4. ปริมาณการใช้ methamphetamine เท่าใดที่มีผลต่อการเกิดโรคจิตเภท
Dr.C.A.P.Kenyon, University of Plymouth Department of Psychology • SALMON : Study And Learning Materials ON-line • amphetamine-antagonism • Amphetamine psychosis similar to Paranoid Schizophrenia • Therefore Amphetamine psychosis may be a model of Paranoid Schizophrenia .
Comparison of Amphetamine psychosis and Paranoid Schizophrenia similar difference Clear sensorium Strong sexual stimulation and stereotypic compulsive behavior in amphetamine psychosis High incidence of auditory Failure to display flattened affect in hallucination amphetamine psychosis Phenothiazine (and other Lack of formal thought disorder in amphetamine antipsychotics) are highly psychosis efficacious in treatment
Marc Laruelle และ Anissa Abi-Dargham การทดลองให้ Amphetamine ในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ได้รับการรักษา พบว่า 1. Amphetamine เพิ่มการหลั่ง DA ใน ผู้ป่วยโรคจิตเภท 2. ให้ Amphetamine เพิ่มการหลั่ง DAPsychotic symptom 3.ถ้าผู้ป่วยได้รับยารักษาโรคจิต DA ในระยะเวลาสั้นๆ 4. ถ้าผู้ป่วยไม่เคยได้รับยารักษาโรคจิตมาก่อน DA นานกว่า
พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล, สุรเชษฐ ผ่องธัญญา การดำเนินโรคทางคลินิกและผลที่ตามมาของโรคจิตจากเมทแอมเฟตามีน : การสำรวจทางคลินิก Study design Prospective study (126 case)
Abstract • พบว่าผู้ป่วยโรคจิตจากแมทแอมเฟตามีนส่วนใหญ่มีอาการทางจิตดีขึ้นอย่างรวดเร็วและตอบสนองดีต่อยารักษาโรคจิต • ลักษณะอาการทางจิตที่พบบ่อยมาก คือ อาการหวาดระแวงกลัวคนมาทำร้าย และอาการประสาทหลอนทางหู • การติดตามผลการดำเนินโรคหลังจากออกโรงพยาบาลแล้ว 1 ปี พบว่า ผู้ป่วยมากกว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 57.2) กลับไปเสพเมทแอมเฟตามีนซ้ำ และครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 50.0) กลับมามีอาการทางจิตอีกซ้ำ • ยังไม่สามารถยืนยันได้ว่า การดำเนินโรคในผู้ป่วยกลุ่มหลัง (ซึ่งมีอาการทางจิตเรื้อรัง) เป็นรูปแบบหนึ่งของโรคจิตจากเมทแอมเฟตามีนชนิดเรื้อรังหรือไม่
วสุ จันทรศักดิ์ ผู้ป่วยโรคจิตจากยาบ้าที่รับไว้ในโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา จาก วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 45 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2543 , หน้า 17-31 Study design Retrospective study (209 case)
Abstract • อาการที่พบบ่อยที่สุดคือความหลงผิดชนิดหวาดระแวงร่วมกับอาการประสาทหลอน ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวงเป็นอย่างมาก • สรุป การศึกษาครั้งนี้พบว่าผู้ป่วยโรคจิตจากยาบ้าส่วนใหญ่มีอาการของโรคจิตชนิดหวาดระแวงแบบเฉียบพลัน คล้ายกับโรคจิตเภท
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ methamphetamine กับการเกิด โรคจิตเภท 2. เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ methamphetamine ในเพศชายกับการเกิดโรคจิตเภท 3. เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ methamphetamine ในเพศหญิงกับการเกิดโรคจิตเภท 4.เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท 5.เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการใช้ methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เพื่อให้เป็นข้อมูลในการศึกษาหาสาเหตุของโรคจิตเภทต่อไปในอนาคต 2.เพื่อเป็นข้อมูลในการคิดค้นวิธีการรักษาโรคจิตเภทต่อไป 3.เพื่อนำผลจากการศึกษาไปใช้ในการป้องกันการเกิดโรคจิตเภท
ระเบียบวิธีวิจัย • ชนิดและรูปแบบ • Case-Control study • Target population • Case หมายถึง ผู้ป่วยจิตเภท 100 คน ตามเกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-IV ในแผนกจิตเวช รพ.พุทธชินราช • กลุ่ม Control ได้จากประชากร 100 คน จาก ต.ท่าโพธิ์, วัดจันทร์ และบึงพระ อ.เมือง จ.พิษณุโลก • Sampling technique • กลุ่ม Case ใช้วิธี Simple random sampling • กลุ่ม Control ใช้วิธี Accidental sampling โดยอายุ >15 ปี
Sampling size: กลุ่มละ 100 คน Odds ratio = 20 x 99.5 = 49.75 80 x 0.5 p1= 20 / 100 = 0.2 p0= 0.5 / 100 = 0.005
แล้วมาคำนวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ เมื่อแทนค่า แล้วได้คำตอบเท่ากับ 48.7 แต่เพื่อความมั่นใจ จึงเพิ่ม sample size เป็น 100 คน
ตารางแสดงจำนวนประชากรที่ใช้และไม่ใช้ยาบ้า ในกลุ่ม Case แยกตามเพศ เพศ ใช้ยาบ้า ไม่ใช้ยาบ้า จำนวนประชากร (คน) คน ร้อยละ คน ร้อยละ ชาย 25 41.67 35 58.33 60 หญิง 5 12.50 35 87.50 40 รวม 30 30 70 70 100
ตารางแสดงจำนวนประชากรที่ใช้และไม่ใช้ยาบ้า ในกลุ่ม Control แยกตามเพศ เพศ ใช้ยาบ้า ไม่ใช้ยาบ้า จำนวนประชากร (คน) คน ร้อยละ คน ร้อยละ ชาย 6 9.09 60 90.91 66 หญิง 2 5.89 32 94.11 34 รวม 8 8 92 92 100
ตารางแสดงอายุของประชากรในกลุ่ม Case และ Control อายุ (ปี) Case Control 15-19 7 21 20-29 40 16 30-39 34 35 40-49 13 14 > 50 6 14 รวม 100 100
ตารางแสดงปริมาณการใช้ยาบ้าตารางแสดงปริมาณการใช้ยาบ้า ปริมาณ (ต่อครั้ง) Case Control ไม่เคยใช้ 70 92 < 1 เม็ด 7 2 1-3 เม็ด 22 5 > 3 เม็ด 1 1 รวม 100 100
ตารางแสดงระยะเวลาการใช้ยาบ้าตารางแสดงระยะเวลาการใช้ยาบ้า ระยะเวลา (ปี) Case Control ไม่เคยใช้ 70 92 < 1 ปี 7 2 2-4 ปี 17 5 5-7 ปี 6 1 รวม 100 100
ตารางแสดงระยะเวลาการเลิกเสพยาบ้าตารางแสดงระยะเวลาการเลิกเสพยาบ้า ระยะเวลา (ปี) Case Control ยังไม่เลิก 0 1 เลิกมานาน 1 ปี 18 4 เลิกมานาน >1 ปี 12 3 รวม 30 8
วิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติทดสอบ : 95% confidence interval ของ odds ratio และ ค่า P-values • คำนวณโดยใช้โปรแกรม Epi Info 6 • CASE : N=100 ราย • CONTROL : N=100 ราย
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ Methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท การใช้ยาบ้า Case Control OR (95%CI) P-values ไม่เคยใช้ 70 92 1 ใช้ยาบ้า 30 8 4.93 (2.00-12.50) 0.00 รวม 100 100
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ Methamphetamine ในเพศชาย กับการเกิดโรคจิตเภท การใช้ยาบ้า Case Control OR (95%CI) P-values ไม่เคยใช้ 35 60 1 ใช้ยาบ้า 25 6 7.14 (2.47-21.68) 0.00 รวม 60 66
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ Methamphetamine ในเพศหญิง กับการเกิดโรคจิตเภท การใช้ยาบ้า Case Control OR (95%CI) P-values ไม่เคยใช้ 35 32 1 ใช้ยาบ้า 5 2 2.29 (0.35-18.46) 0.44* รวม 40 34
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ Methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท ปริมาณการใช้ยาบ้าCase Control OR (95%CI) P-values (ต่อครั้ง) ไม่เคยใช้ 70 92 1 <1 เม็ด 7 2 4.60 (0.84-33.14) 0.08* 1-3 เม็ด 22 5 5.78 (1.94-18.42)0.00 >3 เม็ด 1 1 1.31 (0.0-49.04) 1.00* รวม 100 100
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการใช้ Methamphetamine กับการเกิดโรคจิตเภท ระยะเวลา (ปี)Case Control OR (95%CI) P-values ไม่เคยใช้ 70 92 1 <1 ปี 7 2 4.60 (0.84-33.14) 0.08* 2-4 ปี 17 5 4.47 (1.46-14.63)0.00 5-7 ปี 6 1 7.89 (0.91-177.81) 0.05* รวม 100 100
สรุปผลการวิเคราะห์ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคจิตเภท (Schizophrenia) ได้แก่ • การใช้ยาบ้า (Methamphetamine) • การใช้ยาบ้าในเพศชาย • ปริมาณการใช้ยาบ้า 1-3 เม็ด ต่อครั้ง • ระยะเวลาการใช้ยาบ้า (Methamphetamine) นาน 2-4 ปี
วิจารณ์ • ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้ • ได้จากผู้เสพโดยตรง • ได้จากญาติของผู้เสพ • การเลือกกลุ่ม Control ที่อายุมากกว่า 15 ปี P0 • Paranoid schizophrenia VS Amphetamine • จำนวนประชากรไม่เพียงพอต่อการศึกษา Causal Relationship
ข้อเสนอแนะ • ประโยชน์
เอกสารอ้างอิง ธีระพร วุฒยวนิช และคณะ. วิจัยทางการแพทย์ Medical Research.เชียงใหม่ : กลางเวียงการพิมพ์, 2542. มาโนช หล่อตระกูล และ ปราโมทย์ สุคนิชย์. จิตเวชศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ : สวิชาญการพิมพ์, 2544. วสุ จันทรศักดิ์. “ผู้ป่วยโรคจิตจากยาบ้าที่รับไว้ในโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา” วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 45 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2543. พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล และสุรเชษฐ ผ่องธัญญา. “การดำเนินโรคทางคลินิกและผลที่ตามมาของโรคจิตจากเมทแอมเฟตามีน :การสำรวจทางคลินิก” งานวิจัยโรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.