540 likes | 647 Views
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การควบคุมภายในภาพรวมของจังหวัด และการบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. สภาพแวดล้อมปัจจุบัน. โลกยุคโลกาภิวัตน์. กระแสสังคม เช่น ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล. สังคม เศรษฐกิจ เป็นยุคแห่งการเรียนรู้. เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน การแข่งขันในเวทีโลก.
E N D
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การควบคุมภายในภาพรวมของจังหวัด และการบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ • กระแสสังคม เช่น • ประชาธิปไตย • ธรรมาภิบาล สังคม เศรษฐกิจ เป็นยุคแห่งการเรียนรู้ เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน การแข่งขันในเวทีโลก ใครเรียนรู้ไม่ทันโลก ก็จะมีปัญหา งานของรัฐมากขึ้นและยากขึ้น รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำนาจ ต้องเปิดให้มีส่วนร่วม ต้องโปร่งใส พร้อมถูกตรวจสอบ
P O L C การบริหารงาน
Good Governance องค์กร Internal Control Risk Management Internal Audit
การบริหารความเสี่ยงองค์กรการบริหารความเสี่ยงองค์กร ( Enterprise Risk Management ) COSO การควบคุมภายใน ( Internal Control )
การควบคุมภายใน Input Process Output ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า การประเมินผลการควบคุมภายใน
ความหมายของการควบคุมภายในความหมายของการควบคุมภายใน กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหน่วยงานจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน การควบคุมภายใน ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับ ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงาน
องค์ประกอบการควบคุมภายในองค์ประกอบการควบคุมภายใน การติดตามและประเมินผล สารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมการควบคุม
ความหมายของความเสี่ยงความหมายของความเสี่ยง ความไม่แน่นอน การไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำถึงโอกาสเกิดของเหตุการณ์ในอนาคตและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยง เหตุการณ์ในเชิงลบ หากเกิดขึ้น แล้วอาจสร้างความเสียหาย โอกาส เหตุการณ์ที่มีผลในเชิงบวก ซึ่ง ผู้บริหารควรนำไปพิจารณา กำหนดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร โอกาส หมายถึง เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงบวกต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร
แผนภูมิความเสี่ยง (Risk Profile) ผลกระทบ (Impact) โอกาสที่จะเกิด (likelihood) Risk Appetite Boundary
รูปแบบการประเมินผลการควบคุมภายในรูปแบบการประเมินผลการควบคุมภายใน • การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง • ( Control Self Assessment ) • การประเมินผลการควบคุมอย่างเป็นอิสระ • ( Independent Assessment )
รูปแบบการประเมินผลการควบคุมภายในรูปแบบการประเมินผลการควบคุมภายใน • การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง( Control Self Assessment ) เป็นการประเมินผลในลักษณะความร่วมมือกันระหว่างผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ • การประเมินผลภายในจังหวัด • การประเมินผลการควบคุมภายในของส่วนราชการ • การประเมินผลการควบคุมภายในภาพรวมจังหวัด
รูปแบบการประเมินผลการควบคุมภายในรูปแบบการประเมินผลการควบคุมภายใน • การประเมินผลการควบคุมอย่างเป็นอิสระ( Independent Assessment ) เป็นการประเมินผลโดยผู้ที่ไม่มีที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการกำหนดมาตรการหรือออกแบบระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน เช่น ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ตรวจสอบ / ประเมินภายนอก หน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินผลเป็นต้น • การประเมินผลภายในจังหวัด • การประเมินผลการควบคุมภายในโดยผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง • ทุกคนในองค์กร มีความรับผิดชอบต่อการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่จะกระทบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่รับผิดชอบโดยสอดคล้องกับคำสั่งและร่างข้อตกลงที่ได้กำหนดไว้ • คณะกรรมการ มีหน้าที่กำกับดูแลให้มีนโยบายและการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล • ผู้บริหารสูงสุด มีความรับผิดชอบสูงสุด และรับบทบาทเป็นเจ้าของหรือเจ้าภาพที่จะจัดให้มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ • ผู้บริหารอื่นๆ มีหน้าที่สนับสนุนปรัชญาการบริหารความเสี่ยงองค์กร ส่งเสริมความร่วมมือต่อระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ และจัดการกับความเสี่ยงภายในขอบเขตความรับผิดชอบที่สอดคล้องกับเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ • เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน มีหน้าที่สนับสนุนกระบวนการบริหารความเสี่ยง • ผู้สอบบัญชีภายนอก/หน่วยงาน/บุคคลอื่นภายนอกองค์กรไม่มีความรับผิดชอบต่อประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง • ผู้ตรวจสอบภายใน มีหน้าที่สอบทานและประเมินประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงองค์กรการบริหารความเสี่ยงองค์กร ( Enterprise Risk Management ) กระบวนการที่ปฏิบัติโดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรทุกคนในองค์กร เพื่อช่วยในการกำหนดกลยุทธ์และการดำเนินงาน ซึ่งกระบวนการบริหารความเสี่ยงได้รับการออกแบบไว้ให้สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้ได้รับความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์กรกำหนดไว้
การบริหารความเสี่ยงองค์กรการบริหารความเสี่ยงองค์กร วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยบริหารโอกาสและควบคุมความเสี่ยง เชิงบวก โอกาส เชิงลบ ความเสี่ยง เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น
การบริหารความเสี่ยงองค์กรการบริหารความเสี่ยงองค์กร • เครื่องมือนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์:- • ด้านกลยุทธ์ (Strategic) • ด้านการดำเนินงาน (Operation) • ด้านการรายงาน (Reporting) • ด้านการปฏิบัติตามกฎ/ระเบียบ/ข้อบังคับ (Compliance)
องค์ประกอบการบริหารความเสี่ยงองค์ประกอบการบริหารความเสี่ยง • สภาพแวดล้อมในองค์กร (Internal Environment) • การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) • การบ่งชี้เหตุการณ์ (Event Identification) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response) • กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) • สารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication) • การติดตามผล (Monitoring)
COSO : IC COSO : ERM • Strategic • Operation • Reporting • Compliance • Operation • Financial Reporting • Compliance
COSO : ERM COSO : IC • Control Environment • Risk Assessment • Control Activities • Information & Communication • Monitoring • Internal Environment • Objective Setting • Event Identification • Risk Assessment • Risk Response • Control Activities • Information & Communication • Monitoring
ความเสี่ยง การควบคุม การบริหารความเสี่ยง เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ สอดรับกับภารกิจของหน่วยงาน ระบุปัจจัยเสี่ยง สอบทาน สภาพแวดล้อมการควบคุม ไม่มีนัยสำคัญ วิเคราะห์ ระดับความสำคัญ ยอมรับความเสี่ยง มีนัยสำคัญ • ลด/ป้องกันความเสี่ยง • หลีกเลี่ยงไม่ทำ • สามารถปฏิบัติได้ • ทำไปแก้ไขตามสถานการณ์ จัดกิจกรรมการควบคุม -โอน/กระจายความเสี่ยง ไม่ใช่ วิเคราะห์ ความคุ้มค่า กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง ใช่ ระบบการควบคุมภายใน 23
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 กำหนดให้ ผู้รับตรวจรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ( คตง. ) ผู้กำกับดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) ทำความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่มีมาตรฐานตามระเบียบ ฯ (2) รายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในในการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (3) จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน 25
การรายงานตามระเบียบ ฯ ข้อ 6 ระดับหน่วยงานย่อย - รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - แบบ ปย. 1 - รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน - แบบ ปย. 2 ระดับองค์กร - หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 1 - รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 2 - รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 3 ผู้ตรวจสอบภายใน - รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน - แบบ ปส. 26
แบบปอ. 1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน เรียน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน / ผู้กำกับดูแล / คณะกรรมการตรวจสอบ ..........(ชื่อหน่วยงาน)..........ได้ประเมินผลการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่..........เดือน..............พ.ศ. ............ ด้วยวิธีการที่ ..........(ชื่อหน่วยงาน).......... กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน และการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือ การทุจริต ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและการดำเนินงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบาย ซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหารคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ..........(ชื่อหน่วยงาน).......... สำหรับปีสิ้นสุดวันที่.......... เดือน..............พ.ศ. ............ เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายในตามที่กล่าวไว้ในวรรคแรก ลายมือชื่อ............................................. ตำแหน่ง............................................... วันที่..................................................... 27
แบบปอ. 1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ( ต่อ ) กรณีมีจุดอ่อนของการควบคุมภายในสามารถรายงานจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญ จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ..........(ชื่อหน่วยงาน).......... สำหรับปีสิ้นสุดวันที่.......... เดือน..............พ.ศ. ............ เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายในตามที่กล่าวไว้ในวรรคแรก อนึ่งการควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญ ดังนี้ 1. .................................................................................................................................................................................. 2. .................................................................................................................................................................................. 3. .................................................................................................................................................................................. ซึ่ง..........(ชื่อหน่วยงาน)......... จะดำเนินการปรับปรุงการควบคุมโดยกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติงานประจำปีต่อไป ลายมือชื่อ............................................. ตำแหน่ง............................................... วันที่..................................................... 28
แบบปอ. 2 ชื่อหน่วยงาน................................. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ณ วันที่.......เดือน........พ.ศ............... 29
แบบปอ. 3 ชื่อหน่วยงาน................................. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่.......เดือน........พ.ศ............... ลายมือชื่อ.................................................. ตำแหน่ง..................................................... วันที่........................................................... 30
ชื่อหน่วยงาน.................................ชื่อหน่วยงาน................................. รายงานการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ................ สำหรับรอบ 6 เดือน ตั้งแต่วันที่.......เดือน........พ.ศ............... ถึง วันที่.......เดือน........พ.ศ............... ลายมือชื่อ.................................................. ตำแหน่ง..................................................... วันที่........................................................... 31
แบบปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน เรียน ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายในของ..........ชื่อหน่วยงาน................สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ .......... เดือน .................. พ.ศ. ............... การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวังอย่างรอบคอบ ผลการสอบทานพบว่า การประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไป ตามวิธีการที่กำหนด ระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายใน ลายมือชื่อ...................................................... ตำแหน่ง หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน วันที่................................................................ 32
แบบปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน กรณีมีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกตที่มีนัยสำคัญ ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ..........(ชื่อหน่วยงาน).......... สำหรับปีสิ้นสุดวันที่..........เดือน..............พ.ศ. ............ การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมพลและระมัดระวังอย่างรอบคอบผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนด ระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตที่มีนัยสำคัญ ดังนี้............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลายมือชื่อ...................................................... ตำแหน่ง หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน วันที่................................................................ 33
แบบปย. 1 ชื่อหน่วยงานย่อย................................. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ณ วันที่.......เดือน........พ.ศ............... 34
แบบปย. 2 ชื่อหน่วยงานย่อย................................. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่.......เดือน........พ.ศ............... ลายมือชื่อ.................................................. ตำแหน่ง..................................................... วันที่........................................................... 35
การดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตาม มาตรฐาน COSO เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน / โครงการที่สำคัญซึ่งต้องครอบคลุมความเสี่ยง ด้านธรรมาภิบาล SP 7 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (SP)
จังหวัดต้องมีการวิเคราะห์ และบริหารจัดการความเสี่ยงตามประเด็นยุทธศาสตร์ให้ครบถ้วน ทุกประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด SP 7 • คัดเลือกแผนงาน/โครงการที่สำคัญและมีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ และเป็นโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ • มีประเด็นยุทธศาสตร์ละอย่างน้อย 1 แผนงาน / โครงการ • เพื่อจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบต่อความสำเร็จหรือการบรรลุเป้าหมายของแผนงาน / โครงการ
ส่วนราชการต้องมีขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) SP 7 • การกำหนดเป้าหมายการบริหารความเสี่ยง (Objective Setting) • การระบุความเสี่ยงต่างๆ (Event Identification) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง (Risk Response) • กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities) • ข้อมูลและการสื่อสารด้านบริหารความเสี่ยง (Information and Communication) • การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่าง ๆ (Monitoring)
การตอบสนองความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง 5 ความเสี่ยงสูงมาก 4 ผลกระทบของความเสี่ยง ความเสี่ยงสูง 3 ความเสี่ยงปานกลาง 2 ความเสี่ยงต่ำ 1 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง การระบุวิธีการจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยงก่อนการควบคุม การ ควบคุม การ ควบคุม ความเสี่ยงคงเหลือหลัง มาตรการควบคุม แผนจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติม ความเสี่ยงคงเหลือที่ยอมรับได้ * หลีกเลี่ยง * กระจาย/โอน * ลด/ควบคุม * ยอมรับ * สูงมาก * สูง * ปานกลาง * ต่ำ โดยคำนึงถึงต้นทุนและผลประโยชน์ที่จะได้รับ
ส่วนราชการต้องนำแนวคิดเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้วยส่วนราชการต้องนำแนวคิดเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้วย • ประสิทธิผล (Effectiveness) • ประสิทธิภาพ (Efficiency) • การตอบสนอง (Responsiveness) • ภาระรับผิดชอบ (Accountability) • ความโปร่งใส (Transparency) • การมีส่วนร่วม (Participation) • การกระจายอำนาจ (Decentralization) • นิติธรรม(Rule of Law) • ความเสมอภาค (Equity) • ฉันทามติ (Consensus Oriented) ความเสี่ยงเรื่องธรรมาภิบาล ที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนิน แผนงาน / โครงการเพื่อให้ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance)
ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลที่จะเกิดขึ้นกับกระบวนงานหลักขององค์กร เพื่อให้มั่นว่าการดำเนินการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เช่น ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ความโปร่งใสตรวจสอบได้ เป็นต้น รวมถึงส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการกำกับดูแลตนเองที่ดีด้วย โดยต้องมีการจัดทำแผนธรรมาภิบาล และ/หรือแผนบริหารความเสี่ยงในเรื่องการกำกับดูแลตนเองที่ดี “การกำกับดูแลที่ดี” หมายถึง การจัดการเพื่อให้เกิดการควบคุมและการตรวจสอบการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งความรับผิดชอบในด้านต่าง ๆ ของผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ อาจรวมถึง การมีคณะกรรมการที่กำกับกรอบการดำเนินการของส่วนราชการ การติดตามและประเมินผลการดำเนินการของผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ การตรวจสอบด้านการเงิน การจัดการความเสี่ยงการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร และการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยในขั้นนี้ ให้ส่วนราชการมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในเรื่องการกำกับดูแลองค์การที่ดี “ด้านองค์การ” เช่น การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโอกาสที่จะก่อให้เกิดการทุจริตฯ และด้านการเงิน และนำแผนดังกล่าวไปเป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการกำกับดูแลตนเองที่ดี และควบคุมการบริหารจัดการภายในองค์กร
องค์ประกอบGG 1. ประสิทธิผล (Effectiveness) 2. ประสิทธิภาพ (Efficiency) 10. มุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) ) 3. การตอบสนอง (Responsiveness) เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 9. ความเสมอภาค(Equity) 4. ภาระรับผิดชอบ(Accountability) 8. นิติธรรม (Rule of law) 5. ความโปร่งใส(Transparency) 7. การกระจายอำนาจ (Decentralization) 6. การมีส่วนร่วม (Participation)
ประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ 1. การสอบทานกรณีปกติ 1.1 การตรวจราชการ รวมถึงการตรวจแผนงาน/โครงการ 1.2 การตรวจสอบภายใน 1.3 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 1.4 การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1.5 การรายงานการเงิน 2. การสอบทานกรณีพิเศษ 43
การรายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาพรวมการรายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาพรวม รายงานรอบ 6เดือน รายงานรอบ 12เดือน รายงาน ส่วนราชการ รายงาน ส่วนราชการ 29เมษายน 2554 30ธันวาคม 2554 ผู้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายให้จัดทำรายงานภาพรวม รายงานภาพรวม ของจังหวัด รายงานภาพรวม ของจังหวัด 16มกราคม 2555 13พฤษภาคม 2554 อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด 44
เอกสาร หลักฐาน รายงานต่างๆ ที่ต้องใช้ในการรายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 45
โครงสร้างราชการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นโครงสร้างราชการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น • สนง. ประชาสัมพันธ์จังหวัด • สนง. คลังจังหวัด • สนง. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด • สนง. เกษตรและสหกรณ์จังหวัด • สนง. ประมงจังหวัด/อำเภอ • สนง. ปศุสัตว์จังหวัด/อำเภอ • สนง. เกษตรจังหวัด/อำเภอ • สนง. สหกรณ์จังหวัด • สนง. ปฏิรูปที่ดินจังหวัด • สนง. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด • สนง. ขนส่งจังหวัด • สนง. สถิติจังหวัด • สนง. พาณิชย์จังหวัด • สนง. จังหวัด • ที่ทำการปกครองจังหวัด • สนง. พัฒนาชุมชนจังหวัด • ที่ทำการที่ดินจังหวัดและสาขา • สนง. โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด • เรือนจำจังหวัด/อำเภอ • สนง. แรงงานจังหวัด • สนง. จัดหางานจังหวัด • สนง. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด • สนง. ประกันสังคมจังหวัด • สนง. สาธารณสุขจังหวัด • สนง. อุตสาหกรรมจังหวัด • สนง. วัฒนธรรมจังหวัด • สนง. พระพุทธศาสนาจังหวัด • สนง. การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด • สนง. คุมประพฤติจังหวัด • สนง. บังคับคดีจังหวัด • สนง. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
หน่วยงานย่อย 1 แบบ ปย. 1 แบบ ปย. 2 หน่วยงานย่อย 2 แบบ ปย. 1 แบบ ปย. 2 ส่วนราชการส่วนภูมิภาค หน่วยงานย่อย 3 แบบ ปย. 1 แบบ ปย. 2 แบบ ปอ. 1 คตง. แบบ ปอ. 2 แบบ ปอ. 3 หน่วยงานย่อย 4 จังหวัด แบบ ปย. 1 แบบ ปย. 2
หน่วยย่อย 1 หน่วยย่อย 2 ประมวลภาพรวมของจังหวัด จากส่วนราชการภูมิภาค โดย ผู้ที่ได้รับมอบหมาย จากผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการ.......... หน่วยย่อย 3 หน่วยย่อย 4 หน่วยย่อย 1 หน่วยย่อย 2 ส่วนราชการ.......... หน่วยย่อย 3 หน่วยย่อย 4 หน่วยย่อย 1 หน่วยย่อย 2 แบบ ปอ. 1 แบบ ปอ. 2 แบบ ปอ. 3 อ.ค.ต.ป. ส่วนราชการ.......... หน่วยย่อย 3 หน่วยย่อย 4 48
ขั้นตอนการจัดทำรายงานภาพรวมจังหวัดขั้นตอนการจัดทำรายงานภาพรวมจังหวัด ผู้ตรวจสอบภายใน ส่วนราชการส่วนภูมิภาค ผู้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ส่งรายงานการควบคุมภายในตามที่ ค.ต.ป. กำหนด รวบรวมรายงานและ ศึกษาทำความเข้าใจ รายงานของส่วนราชการ • สอบทานการควบคุมภายใน • ความครบถ้วน ถูกต้อง • การปฏิบัติงานจริง ดำเนินการ ประมวลรายงาน ที่ได้รับ ไม่ครบถ้วน แจ้งส่วนราชการ ครบถ้วน จัดทำรายงานภาพรวมจังหวัด จัดทำรายงานการสอบทาน เสนอรายงานผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อพิจารณาและลงนาม 49 เสนอรายงานต่อ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด
รอบ 6 เดือน ติดตามผลการดำเนินงาน จากแผนการปรับปรุง ฯ งวดก่อน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในงวดก่อน รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในงวดก่อน ( แบบ ปอ.3 ) รอบ 12 เดือน ประเมินความเสี่ยงและกำหนดแนวทางการแก้ไขกระบวนการปฏิบัติงาน รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ( แบบ ปอ.3 ) สรุปผลการประเมิน 5 องค์ประกอบของ การควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ( แบบ ปอ.2 ) แบบสอบถาม การประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ( แบบ ปอ.1 ) เสนอ ค.ต.ง.