1 / 107

โดย นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC

บทบาทของศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC โครงการฝึกอบรมหลักสูตรสิทธิมนุษยชนสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐ รุ่นที่ 2. โดย นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC. ที่มาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม. การขับเคลื่อนงานการพัฒนาเด็กและสตรี 25 มกราคม 2556. สศช. IT. บูรณา การ.

Download Presentation

โดย นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCCโครงการฝึกอบรมหลักสูตรสิทธิมนุษยชนสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐ รุ่นที่ 2 โดย นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC

  2. ที่มาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม การขับเคลื่อนงานการพัฒนาเด็กและสตรี 25 มกราคม 2556 สศช. IT บูรณาการ ศูนย์เบ็ดเสร็จ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 4 ประเด็นปัญหา (1.ตั้งครรภ์ไม่พร้อม(คุณแม่วัยใส) 2.การค้ามนุษย์ 3.แรงงานเด็ก 4.ความรุนแรงฯ) 8 มีนาคม 2556 แถลงข่าวงานวันสตรีสากล 9 เมษายน 2556 เปิดตัว พม.

  3. ความคาดหวังของรัฐบาล

  4. 4

  5. 5

  6. สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาสถานการณ์ความรุนแรงของปัญหา ตั้งครรภ์ไม่พร้อม : - วัยรุ่นไทยอายุต่ำกว่า 20 ปี คลอดลูกเฉลี่ยวันละ 370 คน - มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น เฉลี่ยอายุ 15-16 ปี ค้ามนุษย์ : - อยู่ระดับ Tier2 watch list 4 ปี ติดต่อกัน (2553-2556) แรงงานเด็ก : - ถูกระบุว่า สินค้าที่ผลิตจากประเทศไทยมีการใช้แรงงานเด็ก : สินค้ากุ้ง, ปลา, อ้อย, เครื่องนุ่งห่ม, สื่อลามก ความรุนแรง :- ไทยอยู่ลำดับ 36 ที่มีการกระทำความรุนแรงทางกายต่อสามี/ภรรยา ของตนเอง

  7. 21,844

  8. การประสานความร่วมมือจัดตั้งหน่วยรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line 1) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข 21,844 แห่ง กระทรวงแรงงาน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา 8

  9. Front Line 1 หมายถึง ช่องทางที่ผู้ประสบปัญหาหรือผู้พบเหตุ/เบาะแส สามารถแจ้งเหตุ/เบาะแส 4 ปัญหาหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ได้โดยสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถแจ้งได้ 4 ช่องทาง คือ - แจ้งด้วยตนเองที่หน่วยรับแจ้งเหตุ มากกว่า 20,000 แห่งทั่วประเทศ - สายด่วน 1300 ตลอด 24 ชั่วโมง - เว็บไซต์ www.osccthailand.go.th - Mobile Application

  10. บทบาทหน้าที่ของ Front Line 1

  11. Front Line 2 หมายถึง หน่วยงานที่มีบทบาทและภารกิจหลักในการให้ความช่วยเหลือในแต่ละประเด็นปัญหา ภายใต้สังกัดกระทรวง/ หน่วยงานระดับประเทศ ที่รับผิดชอบ 4 ประเด็นปัญหาหลัก 1.กระทรวงสาธารณสุข : การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 2.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ : การค้ามนุษย์ 3.กระทรวงแรงงาน : การใช้แรงงานเด็ก 4.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ : การใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ

  12. บทบาทหน้าที่ของ Front Line 2

  13. 1. ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กระทรวงสาธารณสุข 2. ค้ามนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน 3. แรงงานเด็ก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 4. การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ

  14. Front line 2 ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กระทรวงสาธารณสุข • โรงพยาบาลชุมชน • โรงพยาบาลทั่วไป • โรงพยาบาลศูนย์ • โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ • กรมอนามัย และกรมควบคุมโรค

  15. Front line 2 ค้ามนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ • สถานีตำรวจนครบาล • สถานีตำรวจภูธรตำบล/อำเภอ/จังหวัด • กองกำกับการ 1-6 กองบังคับการ • ปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับ • การค้ามนุษย์

  16. Front line 2 แรงงานเด็ก กระทรวงแรงงาน • ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือแรงงานหญิงและเด็ก • ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด • สำนักคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครอง • แรงงาน • กลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พื้นที่ 1-10 • (กทม.)

  17. Front line 2 การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • จังหวัด • ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรง • ในครอบครัว (กทม.)

  18. หน่วยให้บริการ หมายถึง หน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่ให้บริการความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหา แต่มิได้เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลัก (Front line 2) ในระบบ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

  19. บันทึกข้อมูลการติดต่อเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลางบันทึกข้อมูลการติดต่อเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลาง • ส่งต่อปัญหาไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพื้นที่ได้อัตโนมัติ • มีระบบแจ้งเตือนเพื่อให้ทราบว่ามีเรื่องที่เกี่ยวข้องถูกส่ง • แนบไฟล์เอกสารประกอบ ระบบสารสนเทศศูนย์ช่วยเหลือสังคม • รับเรื่อง/คัดกรอง • ส่งต่อ / ประสานงานทั้งแบบหน่วยงานและแบบบุคคล • ตรวจสอบตัวตนผู้ใช้บริการจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ • แนบไฟล์เอกสารประกอบ • สามารถเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงาน (กรณี ย้าย / ลา) ให้บริการ • มีระบบรายงานข้อมูลการติดต่อ ข้อมูลเรื่อง • มีระบบแจ้งเตือนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด • สามารถเพิ่มการติดตามผลในระบบ • มีระบบแจ้งเตือนให้ทราบว่าดำเนินการเรื่องแล้วเสร็จ • ติดตาม/ประเมินผล/แจ้งเตือน • ยุติ/ปรับแผนการช่วยเหลือ

  20. ระบบแจ้งเตือน (Alarm/Alert) มีระบบแจ้งเตือน เมื่อการให้บริการผู้ประสบปัญหาทางสังคมมีความล่าช้า โดยแจ้งเตือนผ่านช่องทาง application, email, SMS โดยแบ่งระดับการแจ้งเตือนออกเป็น 3 ระดับ

  21. ระบบรายงาน (Report)

  22. OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ปัญหาถูกติดตาม มีระบบแจ้งเตือน เรื่องไม่สูญหาย)

  23. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว 23

  24. 9 เม.ย. 56 เปิดตัวโครงการ Kick off ประชุมผู้แทนกระทรวงเจ้าภาพหลักและ ICT จัดทำกระบวนงาน workflow จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ครูใหญ่ ครู ก ครู ข จัดอบรมหน่วยรับแจ้งเหตุ front line 1 และหน่วยช่วยเหลือ front line 2 Online 9 มิ.ย. 56 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ OSCC Application Front line 1 Front line 2 จัดประชุมทบทวนบทเรียน จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม พม. 6 ก.พ.57 6 ก.พ. 57

  25. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว • การเปิดตัวโครงการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • และการลงนามในบันทึกข้อตกลง (MOU) (9 เม.ย.2556) ... ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ... 25

  26. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว คู่มือการปฏิบัติงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม คู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการใช้ IT • ภาพรวมระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ • การเข้าใช้งานระบบ • กระบวนการรับเรื่องสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (Front Line 1) • ขั้นตอนการทำงานเมนูผู้ใช้ระบบ (Admin) • นโยบาย ที่มา และคำนิยามศัพท์ • กลุ่มเป้าหมายหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • นิยามศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • ขั้นตอนการดำเนินงานช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • การรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส 4 ช่องทาง • การให้บริการความช่วยเหลือ • ระบบแจ้งเตือน (Alarm)เมื่อบริการล่าช้า • บทบาทหน้าที่ของกระทรวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • รายชื่อหน่วยงานรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line ๑)

  27. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว การฝึกอบรมครู ก • อบรมวิทยากรตัวคูณ (ครู ก) ให้แก่หน่วยงานเจ้าภาพหลักในแต่ละประเด็นปัญหา (พม. รง. สตช.สธ.) • จำนวน 7 รุ่น (77 จังหวัด) • 4 ภาค • ระหว่างวันที่ 20 พ.ค. – 11 มิ.ย. 2556

  28. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว การอบรมครู ข • ระหว่างวันที่ 1 – 25 มิ.ย. 2556 • พมจ. ร่วมกับหน่วยงานที่เข้าร่วมอบรม (ครู ก) จัดอบรมให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (Front Line 1 และหน่วยให้บริการในจังหวัด) • เนื้อหาการอบรม • นโยบายและความเป็นมาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • แนวทางการดำเนินงาน • 2.1 การรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส 4 ช่องทาง (Front Line 1) • 2.2 หน่วยงานในจังหวัดที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line 1) • 2.3 หน่วยงานในจังหวัดที่ทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลัก ใน 4 ปัญหา (Front Line 2) • 2.4 บทบาทหน้าที่ของ Front Line 1 และ Front Line 2 • 2.5 การบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคม 4 ปัญหาหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • 3. วิธีการใช้งานระบบ OSCC Application

  29. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ภาพหน้า OSCC Application

  30. งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว • การจัดอบรมทบทวนการปฏิบัติงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม แก่ผู้ปฏิบัติงานระดับจังหวัด ใน 38 จังหวัด ที่มีสถานการณ์ 4 ปัญหาในระดับสูง จำนวน 3 รุ่น • วัตถุประสงค์ 1. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดำเนินงาน • 2. เพื่อร่วมกันเป็นเครือข่ายขับเคลื่อน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ในจังหวัด • 3. เพื่อได้แนวทางปรับปรุงการดำเนินงาน • รุ่นที่ 1 : ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 17-18 ก.ย. 2556 • รุ่นที่ 2 : ภาคกลาง วันที่ 19-20 ก.ย. 2556 • รุ่นที่ 3 : ภาคใต้ วันที่ 25-26 ก.ย. 2556

  31. จัดทำกระบวนงาน (Workflow) ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา 4 ประเด็นปัญหา

  32. กระบวนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ในภาพรวม การบูรณาการการช่วยเหลือของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปัญหา ช่องทางการติดต่อ บูรณาการช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ การช่วยเหลือภายหลังภาวะวิกฤติ ติดตาม ประเมินผล แจ้งที่หน่วยรับเรื่อง 22,000 หน่วย ทั่วประเทศ การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิและการดำเนินการตามกฎหมาย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ บ้านพักเด็กและครอบครัว/ สถานสงเคราะห์ :คุ้มครองสวัสดิภาพ จัดหาที่พักชั่วคราวาว พบเห็น/ ประสบปัญหา โรงพยาบาล : ดูแลสุขภาพ จำกัด ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) • ติดตามผล • รายงานผล • จัดเก็บข้อมูล Hot Line:1300 24 ชั่วโมง ฟื้นฟู เยียวยา ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน :นำเด็กออกจากสถานประกอบการและ ให้การช่วยเหลือ สถานีตำรวจ : รับแจ้งความ สืบสวนดำเนินคดี ค้ามนุษย์ Website www.osccthailand.go.th แรงงานเด็ก หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การช่วยเหลืออื่นๆ ตามสภาพปัญหา ความรุนแรง ต่อเด็กและสตรี ฯ Mobile Application “OSCC 1300” แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน เชื่อมโยงระบบการให้บริการ แจ้งเตือนถึงหน่วยงานผู้รับผิดชอบ เมื่อผู้ประสบปัญหายังไม่ได้รับบริการหรือบริการล่าช้า และปกป้องข้อมูลบุคคลโดยระบบสารสนเทศ ICT 32

  33. กระบวนการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือกระบวนการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือ

  34. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) กรณีต้องการที่พักชั่วคราว (คลอดบุตรแล้วประสบปัญหา, ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์) 3 3 ตั้งครรภ์ – 1 ปี หลังคลอด 2 1 2 3 ตั้งครรภ์ 1.แจ้งด้วยตนเอง ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 พิจารณาเลือกข้อเสนอ 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์/ Mobile Applicaltion (1 วัน) หน่วยให้บริการ ประชุมทีมสหวิชาชีพ (ภายใน 5 วัน) วางแผนทางเลือก ติดตาม/ ประเมินผล 4 ยุติการตั้งครรภ์ พม. สามารถปิด Case ได้ในกรณีที่ผู้ประสบปัญหาสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข/ คืนสู่ครอบครัว สังคม ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 5 ยุติการตั้งครรภ์ (กรณีเข้าเกณฑ์) บ้านพักเด็กและครอบครัว องค์กรเอกชน ฯลฯ ให้การดูแลเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข 3 พม. 34

  35. คำนิยาม “ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น” หมายถึง เด็กและเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ โดยเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ ไม่ได้ มีการวางแผนการจะให้เกิดขึ้น อันมีสาเหตุมาจาก - ถูกข่มขืน - ถูกทอดทิ้ง ไม่รับผิดชอบ - ถูกล่อลวง มีเพศสัมพันธ์ (โดยไม่ได้ตั้งใจ) - ท้องนอกสมรส - ครอบครัวมีประวัติความรุนแรง - เปิดเผยการท้องต่อสังคมไม่ได้ - คุมกำเนิดล้มเหลว - ต้องออกจากการเรียน - สาเหตุทางเศรษฐกิจ - ต้องออกจากการทำงาน

  36. ขั้นตอนการช่วยเหลือ“ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น”ขั้นตอนการช่วยเหลือ“ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น” • การรับเรื่องและคัดกรอง • การช่วยเหลือ • การส่งต่อ • การติดตามและประเมินผล • การปิด Case หรือยุติการให้บริการ

  37. ขั้นตอนที่ 1 การรับเรื่องและคัดกรอง 1. ผู้ประสบปัญหา/พลเมืองดี สามารถแจ้งเรื่องได้โดย - เดินทางมาติดต่อด้วยตนเอง - โทรศัพท์สายด่วน 1300 (ตลอด 24 ชั่วโมง) - แจ้งผ่านเว็บไซต์ www.osccthailand.go.th - แจ้งผ่าน Mobile Application 2. หน่วยงานรับเรื่องจะต้องมีการบันทึกข้อมูลพื้นฐานลงใน OSCC Application

  38. ขั้นตอนที่ 2การช่วยเหลือ การให้การปรึกษาทางเลือก • การตั้งครรภ์ต่อ • ยุติการตั้งครรภ์ อายุครรภ์จะต้องไม่เกิน 12 สัปดาห์ หากอายุครรภ์เกินกว่านี้จะต้องพิจารณารายกรณี แต่จะต้องไม่เกิน 20 สัปดาห์

  39. ขั้นตอนที่ 2การช่วยเหลือ(ต่อ) เมื่อผู้ใช้บริการตัดสินในทางเลือกทั้งสองทาง สิ่งสำคัญจะต้องดำเนินการ คือ 1. การวางแผนคุมกำเนิด รวมทั้งการตรวจสุขภาพหลังคลอด 2. การบำบัด ฟื้นฟู เยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจ 3. การศึกษา/อาชีพ/ความเป็นอยู่ทางสังคม รวมทั้งการดูแล เลี้ยงดูบุตร/การช่วยเหลือทางกฎหมาย (กรณีเป็นcase คดี)

  40. ขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อ หากไม่สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้ และผู้ใช้บริการ ไม่ประสงค์หรือไม่มีความพร้อมที่จะดูแลบุตร จะมีการประสานหน่วยงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อมอบเด็กให้สถานสงเคราะห์ต่อไป

  41. ขั้นตอนที่ 4 การติดตามและประเมินผล 1. หน่วยงานเจ้าภาพหลัก ติดตามและประเมินผลการให้บริการ 2. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ทำหน้าที่เป็นผู้ติดตาม/ประเมินผล และรวบรวมรวมสถิติการให้บริการความช่วยเหลือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  42. ขั้นตอนที่ 5 การปิด Case หรือยุติการให้บริการ 1. กรณียุติการตั้งครรภ์ ให้คำแนะนำด้านการวางแผนครอบครัว และวางแผนการดำเนินชีวิตต่อไป ในสังคม 2. กรณีตัดสินใจตั้งครรภ์ต่อ ได้รับบริการฝากครรภ์ในโรงพยาบาล รวมทั้งมีการวางแผนการดำเนินชีวิตต่อไปในสังคม ** ยกเว้นกรณี Case ที่มีปัญหาด้านกฎหมายหรือด้านสังคมที่เป็นปัญหาระยะยาว ให้ส่ง Case ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แล้วดำเนินการปิด Case

  43. 3 ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 24 ชม. ผู้เสียหาย (คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย) 1 2 3 กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน 3 1.แจ้งด้วยตนเอง ภายใน 24 ชม. คัดแยกผู้เสียหาย อาจจะเป็นผู้เสียหาย 2. โทร 1300 หน่วยให้บริการ 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์/ Mobile Applicaltion พามาที่บ้านพักเด็กและครอบครัวในกรณีที่ผู้เสียหายยังไม่พร้อมให้ปากคำ หรือยังไม่มีที่พัก คุ้มครองชั่วคราว 24 ชม. และขยายเวลาอีก 7 วัน 4 สตช. ติดตาม/ ประเมินผล พม. 3 24 ชม. รายงานความคืบหน้าทุก 10 วัน (นับจากวันรับเรื่อง) ไม่ใช่ผู้เสียหาย 3 5 คนไทย ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 3 พม. ส่ง พงส. ดำเนินการตาม กม. ที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่คนไทย 43

  44. คำนิยาม “การค้ามนุษย์” หมายถึง การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการ ค้าประเวณี การผลิต หรือการเผยแพร่วัตถุหรือสื่อลามก การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคนมาเป็นทาส การนำคนมาขอทาน การบังคับใช้แรงงาน หรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้าหรือการอื่นใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล ไม่ว่าบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม (มาตรา 6 ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551)

  45. ขั้นตอนการช่วยเหลือ“การค้ามนุษย์”ขั้นตอนการช่วยเหลือ“การค้ามนุษย์” • การรับเรื่องและคัดกรอง • การช่วยเหลือ • การส่งต่อ • การติดตามและประเมินผล • การปิด Case หรือยุติการให้บริการ

  46. ขั้นตอนที่ 1 การรับเรื่องและคัดกรอง 1. กรณีผู้เสียหายอาศัยอยู่ในประเทศไทย ใช้ช่องทางการแจ้งผ่าน Front Line 1 ของหน่วยงานกระทรวงต่างๆ 2. กรณีผู้เสียหายอยู่ต่างประเทศ ผู้เสียหายอาจไปติดต่อที่สถานทูตในแต่ละประเทศ และจะส่งเรื่องต่อให้กับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดย บก.ปคม. หรือ ตม. หรือ สปป. เป็น Front Line 1 หน่วยงานที่เป็นทั้ง Front Line 1 และ 2 สำหรับการช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ คือ สถานีตำรวจนครบาล/สถานีตำรวจภูธรทุกแห่งทั่วประเทศ/กองกำกับการ 1-6 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์

  47. ขั้นตอนที่ 2 การช่วยเหลือ 1. กรณีผู้เสียหายอาศัยอยู่ในประเทศไทย ให้ Front Line 1 ส่งต่อเรื่องให้ Front Line 2 คือ สถานีตำรวจในพื้นที่เกิดเหตุ เพื่อพิจารณาการให้ความช่วยเหลือ 2. กรณีผู้เสียหายอยู่ต่างประเทศ ให้สถานทูตในพื้นที่ผู้เสียหาย พักอาศัยอยู่รับแจ้งเหตุ และสอบข้อเท็จจริงก่อนส่งให้กรมการกงสุล เมื่อสถานทูตดำเนินการให้ความช่วยเหลือส่งผู้เสียหายกลับประเทศไทย และอาจส่งเรื่องให้กับ บก.ปคม./ ตม./ สปป. เพื่อดำเนินการคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และช่วยเหลือต่อไป

  48. วิธีการ วัตถุประสงค์ ลักษณะการกระทำ • ข่มขู่ • ใช้กำลังบังคับ • ลักพาตัว • ฉ้อฉล • หลอกลวง • ใช้อำนาจโดยมิชอบ • โดยให้เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นกับผู้ปกครองหรือผู้ดูแลฯ • ค้าประเวณี • ผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสิ่งลามก • แสวงหาประโยชน์ทางเพศ ในรูปแบบอื่น • เอาลงเป็นทาส • ขอทาน • บังคับใช้แรงงานหรือบริการ • บังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้า • จัดหา • ซื้อ • ขาย • จำหน่าย • พามาจาก • ส่งไปยังที่ใด • หน่วงเหนี่ยว • กักขัง • จัดให้อยู่อาศัย • รับไว้ การค้ามนุษย์

  49. ขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อ การส่งต่อ สามารถแบ่งได้เป็น 3 กรณี คือ 1. กรณีเป็นผู้เสียหาย ส่งผู้เสียหายเข้ารับการคุ้มครองสวัสดิภาพที่สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ จำนวน 9 แห่ง ในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 2. กรณีอาจจะเป็นผู้เสียหาย ในกรณีที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่าเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ตาม พรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 ให้ส่งตัวเข้าคุ้มครองสวัสดิภาพที่สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ เพื่อดำเนินการสอบสวนต่อไป

  50. ขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อ (ต่อ) 3. กรณีไม่ใช่ผู้เสียหาย กรณีเป็นคนไทย ให้ดำเนินการส่งกลับภูมิลำเนาเดิมและติดตามผลเป็นระยะ กรณีเป็นคนต่างด้าว ให้ส่งตัวคนต่างด้าวให้พนักงานสอบสวนในพื้นที่ดำเนินคดีตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น พรบ. คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 พรบ.การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551 เป็นต้น

More Related