566 likes | 3.21k Views
โรงเรียนดีประจำตำบล. ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒. 1. ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 2. โรงเรียนดีประจำตำบล. ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 3.
E N D
โรงเรียนดีประจำตำบล ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒ 1
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 2
โรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 3 หมายถึง โรงเรียนในท้องถิ่นชนบท ที่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ชุมชน และภาคีเครือข่าย ร่วมกันจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม พัฒนาโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีมาตรฐานคุณภาพระดับสูง (โรงเรียนคุณภาพ) ทั้งด้านงานวิชาการ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สุขภาพอนามัย งานอาชีพ และภูมิทัศน์ เป็นที่ยอมรับของชุมชน
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • 1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนระดับตำบลในชนบทให้เป็น “โรงเรียนคุณภาพ” • มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งทั้งทางด้านวิชาการ กิจกรรม • พัฒนาผู้เรียน การพัฒนาสุขภาพอนามัย การเรียนรู้อาชีพ และ • กิจกรรมบริการชุมชนอย่างมีคุณภาพ • 2. เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับนักเรียนใน • ท้องถิ่นชนบท • 3. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ หรือการมีส่วนร่วมจากชุมชน องค์กร • ปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • นำไปสู่ความเข้มแข็งของโรงเรียนและรองรับการกระจายอำนาจ • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 4
Roadmap สู่การพัฒนาโรงเรียน 32,000 ร.ร. 2,500 ร.ร. 182+6,818 = 7,000 ร.ร. 500 ร.ร. 22,000 ร.ร. ร.ร.ขนาดเล็ก ในชุมชน/หมู่บ้าน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 5
หลักการสำคัญ • การจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน • เน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การอ่านออก เขียนได้ การคิดวิเคราะห์ และการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลายทั้งด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และอาชีพ • การบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยใช้เทคนิค 5 ร่วม คือการร่วมคิด การร่วมวางแผน การร่วมปฏิบัติการร่วมประเมินผล และการร่วมชื่นชม • ปฏิบัติงานให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ และภาพความสำเร็จที่ต้องการ โดยได้รับการ สนับสนุนจากชุมชน ท้องถิ่นตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) • โรงเรียนจัดกิจกรรมบริการชุมชนอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 6
ภาพความสำเร็จ • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 7
ภาพความสำเร็จโรงเรียนดีประจำตำบลภาพความสำเร็จโรงเรียนดีประจำตำบล “” • เป็นโรงเรียนคุณภาพ” ที่มีความพร้อมทั้งด้านกายภาพและคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับสูงตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเข้มแข็งด้านวิชาการ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 8
ด้านกายภาพ • มีภูมิทัศน์สะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ • มีอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ครบถ้วนเพียงพอ • มีวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ครบถ้วนเพียงพอ • มีผู้บริหาร ครูและบุคลากรที่มีศักยภาพมีจำนวนครบถ้วนเพียงพอ • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 9
ด้านกายภาพ • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 10
ด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา • มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับสูง ไม่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ใน 5 กลุ่มสาระหลัก • มีความเป็นเลิศ ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี • มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 8 ประการคือ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริตมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงมุ่งมั่นการทำงานรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ • มีสมรรถนะสำคัญ 5 ประการคือ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี • มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 11
2. เป็น “โรงเรียนทำมาหากิน” • ที่เน้นการพัฒนาพื้นฐานด้านอาชีพและการมีรายได้ระหว่างเรียน ดังนี้ - จัดการเรียนรู้ด้านวิชาชีพ ที่สอดคล้องกับวิชาชีพในชุมชนตรงตามความถนัดและความสนใจของนักเรียน - นักเรียนมีทักษะพื้นฐานในงานอาชีพและสามารถสร้างรายได้ระหว่างเรียนด้วยตนเอง - โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพของชุมชน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 12
3. เป็น “โรงเรียนของชุมชน” • ในท้องถิ่นชนบทที่มีความพร้อมในการให้บริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เอื้อต่อการจัดการศึกษาปฐมวัย และการศึกษาพิเศษ ดังนี้ - เป็นศูนย์การให้บริการ และเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน - องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ประชาคมตำบล ตลอดจนทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนา และเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ - ชุมชนให้การยอมรับ มีความเชื่อมั่น ศรัทธา ส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 13
เป้าหมายโรงเรียนดีประจำตำบลเป้าหมายโรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 14
ภารกิจสำคัญของการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบลภารกิจสำคัญของการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล 1. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพของนักเรียน ด้านวิชาการ พื้นฐานอาชีพ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี 2. ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ปรับภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ร่มรื่น และปลอดภัย 4. จัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเข้มแข็ง 5. บริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในชุมชน และท้องถิ่น 6. พัฒนาครูและบุคลากรตามแผนพัฒนารายบุคคล (ID-Plan) 7. สร้างความเข้มแข็งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 8. พัฒนาโรงเรียนให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชน และให้บริการชุมชน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 15
ตัวชี้วัดโครงการ • ด้านนักเรียน 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2) คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะผู้เรียน 3) พื้นฐานทางอาชีพ และการมีรายได้ระหว่างเรียน 4) ความเป็นเลิศ ด้าน ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี • ด้านครูและบุคลากร 5) ผู้บริหารเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง 6) ครูมีคุณภาพ และเพียงพอ • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 16
ตัวชี้วัดโครงการ • ด้านโรงเรียน 7) สะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ให้บริการแก่ชุมชน และโรงเรียนอื่น ๆ • เป็นโรงเรียน 3 D คือมีความเป็นประชาธิปไตย(Democracy ) ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความภาคภูมิในความเป็นไทย(Decency) และปลอดสารเสพติด (Drug ) • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 17
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 18
ขั้นตอนการดำเนินงานโรงเรียนดีประจำตำบล • ขั้นตอนที่ 1การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นสำหรับวางแผนพัฒนา • ขั้นตอนที่ 2 จัดทำร่างบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) • ขั้นตอนที่ 3 การประชุมประชาคมตำบล เพื่อยอมรับและลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ • ขั้นตอนที่ 4 การนำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ไปปฏิบัติ • ขั้นตอนที่ 5การติดตาม ประเมินผลและรายงาน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 19
แนวทางการขับเคลื่อนโรงเรียนดีประจำตำบลแนวทางการขับเคลื่อนโรงเรียนดีประจำตำบล สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล ระดับกรม คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล ระดับเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่ โรงเรียน คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล ระดับโรงเรียน ด้านนักเรียน ด้านครูและบุคลากร ด้านโรงเรียนและสิ่งแวดล้อม ด้านชุมชน และเครือข่าย • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 20
คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบลคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล • ระดับเขตพื้นที่ • ระดับโรงเรียน คณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 21
บทบาทของโรงเรียน • ด้านการบริหารจัดการ 1.1ทำความตกลงเป็นบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)กับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.2 จัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล ระยะ 4 ปี 1.3 จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 1.4 จัดทำแผนการนิเทศ และประเมินอย่างต่อเนื่อง 1.5 ดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในอย่างเข้มแข็ง เพื่อให้เห็นถึงความก้าวหน้าของการพัฒนาสู่โรงเรียนคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 1.6 จัดทำ Web site ของโรงเรียนดีประจำตำบล 1.7รายงานผลการดำเนินงานต่อ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 22
ด้านการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างเข้มข้น โดย ผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเน้นการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น การเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริง และเน้นการคิดวิเคราะห์ด้วยการเรียน แบบโครงงาน (project-based Learning) หรือการเรียนโดยการแก้ปัญหา (problem-based Learning) • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 23
3.ด้านบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม3.ด้านบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม 3.1กายภาพ 3.1.1บรรยากาศของโรงเรียนสะอาด ร่มรื่นสวยงาม ปลอดภัยเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระต่างๆ 3.1.2 อาคารเรียน อาคารประกอบจัดให้มี ห้องเรียน ห้องสุขา ห้องสมุด 3ดี ห้องปฏิบัติการ ทางภาษา วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ สื่อ วัสดุอุปกรณ์เพียงพอ และมีระบบการใช้อย่างคุ้มค่า 3.2สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มีสัมพันธภาพที่ดีให้เอื้อต่อการเรียนรู้ การทำงาน และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 3.3โรงเรียนเป็นศูนย์รวมให้บริการชุมชน ศูนย์การเรียนรู้งานอาชีพครบวงจร ศูนย์กีฬา เพื่อชุมชนในการแสวงหาความรู้ และบริการชุมชนอย่างเข้มแข็ง • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 24
4.ด้านการมีส่วนร่วม เน้น - สร้างเครือข่ายกับโรงเรียนอื่น -บริการวิชาการสำหรับนักเรียนและครูจากโรงเรียนขนาดเล็ก(เรียนรวม) - เครือข่ายความร่วมมือกับโรงเรียนดีประจำอำเภอ โรงเรียนมาตรฐานสากลการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย • การประสานความร่วมมือจากภาคส่วนโดยมีแผนระดมทรัพยากร • - การสร้างภาคีเครือข่าย • -ภูมิปัญญาท้องถิ่น การประชาสัมพันธ์และการประกาศเกียรติคุณผู้สนับสนุนงานโรงเรียนประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 25
Roadmap สู่การพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล 1.ห้องสมุด 3 ดี 2.ห้องปฏิบัติการ 3.ศูนย์การเรียนรู้อาชีพ 4.ศูนย์กีฬาชุมชน 5.ห้องสุขาถูกสุขลักษณะ 6.ครูใช้แหล่งเรียนรู้ ใช้ ICT 7.ผู้บริหารนำการเปลี่ยนแปลง 1.ชื่อเสียงดี 2.ใฝ่รู้ 3.ใฝ่เรียน 4.ใฝ่ดี 5.มีความเป็นไทย 6.สุขภาพดี 7.รักงานอาชีพ 7 7 7 21 • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 26
โรงเรียนดีประจำตำบลภายใน 4เดือนแรก (ก.ย.- ธ.ค.2553)เป้าหมายโรงเรียน 7ประการ 1.มีแผนยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน เชื่อมั่นว่าทำได้จริง 2.มีเป้าหมายพัฒนานักเรียนที่ทุกคนเข้าใจถูกต้องตรงกัน 3.มีความสะอาดทุกแห่งที่เกิดจากจิตสำนึกของนักเรียน 4.มีบริเวณโดยรอบ ร่มรื่น สวยงามด้วยร่มเงาธรรมชาติ 5.มีบรรยากาศอบอุ่นเหมือนบ้าน สีสันสดใส 6.มีความปลอดภัย ปลอดสารเสพติด 7.เปิดโอกาสให้ อปท.มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของและพัฒนา • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 27
โรงเรียนดีประจำตำบลภายใน 4+4 = 8เดือน (ม.ค.- เม.ย.2554)เป้าหมาย 7+7ประการ 1.มีห้องสมุด3 ดี มีการจัดกิจกรรมรักการอ่าน นร.ได้ใช้ห้องสมุดทุกคน 2.มีห้องปฏิบัติการภาษา วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ได้ใช้งานอย่างคุ้มค่า 3.มีศูนย์การเรียนรู้งานอาชีพที่ครบวงจร สร้างอาชีพ หารายได้ระหว่างเรียน 4.เป็นศูนย์กีฬาชุมชนครบวงจร มีสนามกีฬา มีกิจกรรมและการดูแลรักษา 5.มีห้องสุขานักเรียนที่สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ 6.ครูใช้แหล่งเรียนรู้ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อเทคโนโลยีทันสมัยในการสอน 7.ผู้บริหารเป็นที่ยอมรับในการเป็นนักพัฒนาและผู้นำการเปลี่ยนแปลง • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 28
โรงเรียนดีประจำตำบลภายใน 4+4+4 = 12 เดือน (พ.ค.- ส.ค.2554)เป้าหมายนักเรียน 7 ประการ 1.มีจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น (ชื่อเสียงดี) 2.มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเดิม/>ค่าเฉลี่ย สพฐ. (ใฝ่รู้) 3.อ่านคล่อง เขียนคล่องนับแต่ชั้น ป.2 ขึ้นไป (ใฝ่เรียน) 4.มีความซื่อสัตย์ สุจริต (ใฝ่ดี) 5.มีวินัย ยิ้มไหว้ทักทายกัน (มีความเป็นไทย) 6.มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี (สุขภาพดี) 7.ใช้ ICT ได้ รักงานอาชีพ (รักงานอาชีพ) • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 29
วิสัยทัศน์ โรงเรียนดีประจำตำบล สร้างคุณภาพของเด็กไทย • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 30
โรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 31
พันธกิจ • เป็นโรงเรียนที่มีมาตรฐานคุณภาพระดับสูง • เป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมด้านกายภาพ • เป็นโรงเรียนทำมาหากิน • เป็นโรงเรียนของชุมชน • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 32
กลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบลกลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 33
กัลยาณมิตรพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบลกัลยาณมิตรพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล 1. คณะนิเทศ กำกับติดตามการดำเนินงานส่วนกลาง 2. คณะนิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงานโรงเรียนในฝันระดับเขตตรวจราชการ (Roving Team) 3. คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบลในระดับเขตพื้นที่ 4. โรงเรียนพี่เลี้ยงโรงเรียนดีประจำตำบล (ดีประจำอำเภอ/มาตรฐานสากล) 5. โรงเรียนคู่พัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล (ดีประจำอำเภอ) • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 34
โรงเรียนต้นแบบโรงเรียนดีประจำตำบลโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนดีประจำตำบล • ผลสำเร็จของโครงการ โรงเรียนในโครงการที่สามารถพัฒนาตามเป้าหมาย ชุมชน สังคมในตำบลนั้นๆสังคมจะได้โรงเรียนที่มีชื่อเสียงดี นักเรียนใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ใฝ่ดีมีความเป็นไทย สุขภาพดี และรักงานอาชีพ อย่างเป็นรูปธรรม จะได้รับการประกาศรับรองเป็น โรงเรียนต้นแบบโรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 35
การดำเนินการเข้าสู่การเป็นต้นแบบโรงเรียนดีประจำตำบลการดำเนินการเข้าสู่การเป็นต้นแบบโรงเรียนดีประจำตำบล • ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 36
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. 42 37