200 likes | 509 Views
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อดีต, ปัจจุบัน และอนาคต นำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ 15 พฤศจิกายน 2550. รายนามหัวหน้าภาควิชา. ศ. เกียรติคุณ นพ. จำลอง ดิษยวณิช (2519 - 2532) รศ. นพ. กอบเกียรติ รักษ์เผ่าพันธุ์ ( 2532 - 2532)
E N D
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีต, ปัจจุบัน และอนาคต นำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ 15 พฤศจิกายน 2550
รายนามหัวหน้าภาควิชา • ศ. เกียรติคุณ นพ. จำลอง ดิษยวณิช (2519 - 2532) • รศ. นพ. กอบเกียรติ รักษ์เผ่าพันธุ์ (2532 - 2532) • ผศ. นพ. วิชิต ลีลามานิตย์ (2532 - 2536) • รศ. นพ. ไพรัตน์ พฤกษชาติคุณากร (2536 - 2540) • รศ. พญ. มณี ภิญโญพรพาณิชย์ (2540 - 2544) • รศ. นพ. วุฒิชัย บุณยนฤธี (2544 - 2548) • ศ. นพ. มานิต ศรีสุรภานนท์ (2548 - ปัจจุบัน)
อาจารย์ • อาจารย์ประจำ: 12 ท่าน (อยู่ในระหว่างการศึกษาต่อต่างประเทศ 1 ท่าน) • อาจารย์พิเศษ: 2 ท่าน (ศ. เกรียติคุณ จำลอง และ ศ. เกรียติคุณ พริ้มเพรา ดิษยวณิช) • วุฒิทางการศึกษา (ป. เอกหรือเทียบเท่า : ป. โทหรือเทียบเท่า : ป. ตรี) = 11 : 1 : 0 • คุณวุฒิหลัก: จิตแพทย์ 10 ท่าน, ป. เอก จิตวิทยา 1 ท่าน และ ป. โท สังคมสงเคราะห์ 1 ท่าน • ตำแหน่งทางวิชาการ (ศ : รศ : ผศ : อ) = 1 : 5 : 4 : 2
เจ้าหน้าที่สาย ข. และ ค. • เจ้าหน้าที่สาย ข.: ข้าราชการ 2 คน (นักสังคมสงเคราะห์ และนักจิตวิทยา) และ พนง. มหาวิทยาลัย 1 คน (นักอาชีวบำบัด) • เจ้าหน้าที่สาย ค.: 5 คน (ข้าราชการ 2 คน, ลูกจ้างประจำ 2 คน และลูกจ้างชั่วคราว 1 คน)
การเรียนการสอน • หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต • รับผิดชอบโดยตรง 3 กระบวนวิชา ได้แก่ • กระบวนวิชา พัฒนาความเป็นแพทย์ 329101 (MPD 101) • กระบวนวิชาจิตเวชศาสตร์ 305501 (PSYC 501) • สอนและประเมินผลร่วมกับโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง 1 กระบวนวิชา ได้แก่กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ 305501 (PSYC 501)
การเรียนการสอน (ต่อ) • หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต • รับผิดชอบโดยตรง 2 กระบวนวิชา ได้แก่ • กระบวนวิชาพฤติกรรมศาสตร์ 304251 (BEH 251) • กระบวนวิชาพฤติกรรมศาสตร์ 304352 (BEH 352) • หลักสูตรเทคนิคการแพทย์บัณฑิต • รับผิดชอบโดยตรง 2 กระบวนวิชา ได้แก่ • กระบวนวิชาจิตเวชศาสตร์ 305202 (PSYC 202) (สำหรับนักศึกษาภาควิชากิจกรรมบำบัด) • กระบวนวิชาจิตเวชศาสตร์ 305203 (PSYC 203) (สำหรับนักศึกษาภาควิชากายภาพบำบัด)
การเรียนการสอน (ต่อ) • ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขา จิตเวชศาสตร์ • รับผิดชอบโดยตรง 5 กระบวนวิชา ได้แก่ • กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ทั่วไป 305731 (PSYC 731) • กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน 305751 (BEH301) • กระบวนวิชาจิตเวชศาสตร์คลินิกของผู้ป่วยนอก 305761 (PSYC 761) • กระบวนวิชาจิตเวชศาสตร์คลินิกของผู้ป่วยใน 305771 (PSYC 771) • กระบวนวิชาการค้นคว้าอิสระ 305798 (PSYC 798)
การเรียนการสอน (ต่อ) • ร่วมกับ:Turning Point (Melbourne, Australia) และศูนย์วิชาการยาเสพติด ม. เชียงใหม่ จัดทำ หลักสูตรอบรมระยะสั้นด้านยาเสพติด • ทุน: AUSAID ในโครงการ Illicit Drug Initiation (IDI) • ขั้นตอน: • สำรวจและวิเคราะห์ความต้องการ (training needs analysis) • จัดตั้งกรรมการหลักสูตร (ระดับชาติ) • จัดทำหลักสูตร • จัดทำ course materialsและ pilot training • ฝึกอบรมผู้สอน 2 ท่าน 1 เดือนที่ Turning Point • ภาควิชาจะนำหลักสูตรมาใช้เป็นวิชาเลือกสำหรับ นศพ. ปี 5
งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 • จำนวนโครงการวิจัยที่ดำเนินงานและที่เสร็จสิ้น: 16 โครงการ (1.33 โครงการ/อาจารย์) • การเผยแพร่ผลงานวิจัย: 10 ผลงาน (0.8 การนำเสนอ/อาจารย์) • งานวิจัยซึ่งทำโดยอาจารย์ในภาคมากกว่า 1 ท่าน: 7 โครงการ • งานวิจัยที่ทำร่วมกับองค์กรนอกภาควิชา:12 โครงการ • งบประมาณจากแหล่งทุนภาคนอก: 1,056,312 บาท • จัดทำฐานข้อมูลวิจัยแบบอิเลคโทรนิกส์
งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 (ต่อ) • ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์: 1 เรื่อง • Wongpakaran N, van Reekum R, Wongpakaran T, Clarke D. Selective serotonin reuptake inhibitor use associates with apathy among depressed elderly: a case-control study. Ann Gen Psychiatry 2007; 6(1) 7.
งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 (ต่อ) • นำเสนอ 4 ผลงานวิจัยใน 19th European College of Nueropsychopharmacology Congress, Sep 16-20, 2006, Paris • Suttajit S, et al. Benzodiazepines misuse in outpatient treated by internists.* • Maneeton N, et al. An open-label study of quetiapine for delirium.* • Maneeton B, et al. Risks and pattern of alcohol withdrawal delirium.* • Charnsil C, et al. 1-year incidence of diabetes mellitus in Thai schizophrenic patients receiving long-term treatment of antipsychotics. *Abstract ได้รับการตีพิมพ์ใน European Journal of Neuropsychopharmacology (Suppl) จึงได้รับการยกเว้นค่าลงทะเบียน
งานวิจัย: เมย. 50 - ปัจจุบัน • บทความตีพิมพ์ในช่วง เมย. – มิย.50 • Assanangkornchai S, Srisurapanont M. The treatment of alcohol dependence. Curr Opin Psychiatry. 2007 May;20(3):222-7. • Srisurapanont M, et al. Brief intervention for students with methamphetamine use disorders: a randomized controlled trial. Am J Addict. 2007 Mar-Apr;16(2):111-6. • Srisurapanont M, et al. Metabolic syndrome in Thai schizophrenic patients: a naturalistic one-year follow-up study. BMC Psychiatry. 2007 Apr 23;7:14. • Charnsil C, et al. One-year incidence of diabetes mellitus in Thai schizophrenic patients. ASEAN Journal of Psychiatry 2007;8 (1):44-46. • Maneeton B, et al. Fluoxetine plus insight meditation therapy for an SLE patient with depressive disorder: a two-year follow-up (short report). ASEAN Journal of Psychiatry 2007;8 (1):47-49.
งานวิจัย: เมย. 50 – ปัจจุบัน (ต่อ) • บทความตีพิมพ์ในช่วง มิย. – ธค. 50 • Suttajit S, et al. Benzodiazepine overuse in an internal medicine out-patient department: a prospective study. ASEAN Journal of Psychiatry 2007:8 (2):106-110. • Likhitsathian S, Sakamoto RI. Fixed-dose schedule and symptom-triggered regimen for alcohol withdrawal: a before-after study. ASEAN Journal of Psychiatry 2007:8 (2):111-117. • Maneeton B, et al. Consultation-liaison psychiatry in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. ASEAN Journal of Psychiatry 2007;8 (2):124-130. • รางวัลจิตแพทย์ดีเด่นสาขาการวิจัย (ศ. นพ. มานิต) จากสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, ตค. 50
การบริการวิชาการ • บริการ: เพิ่ม OPD Geriatric Psychiatry • กรรมการวิชาการ หรือวิชาชีพที่สำคัญ • ประธานวิชาการสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย (ศ. นพ. มานิต) • กรรมการฝึกอบรมและประเมินความรู้ความชำนาญทางจิตเวชฯ แพทยสภา (ศ. นพ. มานิต) • ASEAN Journal of Psychiatry • Editor (ศ. นพ. มานิต) • Associate Editor (ผศ. พญ. ณหทัย) • Editorial Board (รศ. นพ. ทินกร และ ผศ. พญ. เบญจลักษณ์)
การบริการวิชาการ(ต่อ) • Mental Health and Substance Use: Dual Diagnosis • International Advisory Board (ศ. นพ. มานิต) • วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย • กองบรรณาธิการ (ศ. นพ. มานิต) • ร่วมกับศูนย์วิชาการยาเสพติดภาคเหนือและ Turning Point for Drugs and Alcohol (Melbourne) ในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านยาเสพติด ภายใต้ทุนสนับสนุนของโครงการ Illicit Drug Initiative (IDI) ของ AUSAID (ศ. นพ. มานิต และ อ. พญ. สุรินทร์พร) • Transcranial Magnetic Stimulation (TMS) ซึ่ง ผศ. พญ. ณหทัย ได้รับการอบรมแล้ว
การบริหารและจัดการ • การฝึกอบรมบุคลากร • Child & Adolescent Psychiatry, U of London, ตค. 2546 – กย. 2547, รศ. นพ. ณรงค์, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ • Consultation-Liaison Psychiatry, U of London, ตค. 2546 – กย. 2547, ผศ. พญ. เบญจลักษณ์, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ • Fellow in Psychotherapy, U of Toronto, พย. 2547- ตค. 2549, รศ. ทินกร, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ • Fellow in Geriatric Psychiatry, U of Toronto, พย. 2547- ตค. 2549, ผศ. พญ. ณหทัย, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ฯ
การบริหารและจัดการ (ต่อ) • การฝึกอบรมบุคลากร (ต่อ) • Palliative care, The Good Samaritan Society, Canada, พย. 49 – พค. 50, ผศ. สุธีร์, ทุนส่วนตัว • Cognitive-Behavioral Therapy for Depression (ในประเทศ), มค. – พย. 50, รศ. นพ. ณรงค์ และ อ. พญ. สุรินทร์พร, ทุนกรมสุขภาพจิต • Course on Leadership and Professional Skills Development for Young Psychiatrists, Association for the Improvement of Mental Health Programmes (AIMHP), Hong Kong, 25 – 28 มิย. 50, ผศ. พญ. ณหทัย และ อ. พญ. ศิริจิต ทุน AIMHP (ประเทศไทยได้รับ 3 ทุน)
การบริหารและจัดการ (ต่อ) • การฝึกอบรมบุคลากร (ต่อ) • Short Course on Schizophrenia, Mood Disorders, and Anxiety Disorder, U of Toronto, 17 สค.-14 กย. 50, อ. พญ. ศิริจิต,ทุนจากสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย • Psychiatry Research, U of London, กย.50 – กย. 51, อ. พญ. ศิริจิต, ทุนคณะแพทย์ • Young Psychiatrists Fellowship Programme: World Psychiatric Association International Congress, Melbourne, 28 พย. – 2 ธค. 50, อ. พญ. สุรินทร์พร,ทุน WPA