420 likes | 871 Views
ระเบียบและคำแนะนำ เกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสหกรณ์. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พ.ศ. 2547. สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต จำหน่ายสินค้า ให้บริการ ให้เช่า ใช้บริหารงาน ซึ่งคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบปีบัญชี.
E N D
ระเบียบและคำแนะนำ เกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสหกรณ์
คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พ.ศ. 2547
สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตสินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต จำหน่ายสินค้า ให้บริการ ให้เช่า ใช้บริหารงาน ซึ่งคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบปีบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การวัดมูลค่าเริ่มแรก ซื้อสินทรัพย์ บันทึกด้วยราคาทุน ราคาซื้อ xx บวก ภาษี , ต้นทุนทางตรงอื่น ๆ xx หัก ส่วนลดการค้า , ภาษีที่ได้รับคืน xx ราคาทุน xx Dr.........(ประเภทสินทรัพย์) xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
สร้างสินทรัพย์ขึ้นใช้เองสร้างสินทรัพย์ขึ้นใช้เอง บันทึกด้วยราคาทุน ต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสินทรัพย์ บวก ต้นทุนทางอ้อมที่สามารถปันส่วนให้แก่สินทรัพย์ที่สร้าง ต้นทุนในการจัดหาเงิน Dr...............ระหว่างก่อสร้าง xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr...............(ประเภทสินทรัพย์) xx Cr.........ระหว่างก่อสร้าง xx
การก่อสร้างเกิดความล่าช้าการก่อสร้างเกิดความล่าช้า 1. ต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้นในช่วงที่เกิดความล่าช้า รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง Dr.......ระหว่างก่อสร้าง (ประเภทสินทรัพย์) xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx 2. ค่าปรับที่ได้รับหักออกจากราคาทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง Dr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Cr........ระหว่างก่อสร้าง (ประเภทสินทรัพย์) xx
สินทรัพย์สร้างเสร็จ/พร้อมใช้งานสินทรัพย์สร้างเสร็จ/พร้อมใช้งาน • ยังคงต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ต่อไป ต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้น • ถือเป็นค่าใช้จ่าย Dr.ดอกเบี้ยจ่ายเพื่อสร้างสินทรัพย์ xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx สร้างสินทรัพย์ผิดสัญญา ค่าปรับที่ได้รับหลังจากสินทรัพย์สร้างเสร็จ และพร้อมใช้งาน Dr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Cr.รายได้ค่าปรับจากการผิดสัญญาก่อสร้าง xx
การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ประเภทเดียวกัน/คล้ายคลึงกัน 1 2 การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ต่างประเภท/ไม่คล้ายคลึงกัน บันทึกราคาทุนของสินทรัพย์ที่ได้มาด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่นำไปแลก ปรับปรุงด้วยจำนวนเงินที่ต้องจ่ายเพิ่ม/รับคืนอันเนื่องมาจากการแลกเปลี่ยน รับรู้ผลกำไร/ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ ลักษณะและประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกัน 7
การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ Dr. เงินสด (กรณีได้รับเงินคืน) xx สินทรัพย์(ใหม่) xx ค่าเสื่อมราคาสะสม - (สินทรัพย์เดิม) xx ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ xx (กรณีมีผลขาดทุน) Cr. เงินสด (กรณีจ่ายเงินเพิ่ม) xx สินทรัพย์ (เก่า) xx กำไรจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ xx (กรณีมีผลกำไร) 8
รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์ ก่อประโยชน์แก่สหกรณ์หลายงวดระยะเวลาบัญชี ประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากเดิม สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้นเมื่อเทียบกับมาตรฐานการใช้งานเดิม รายจ่ายที่เป็นทุน = มูลค่าเพิ่มขึ้น Dr. สินทรัพย์/ค่าเสื่อมราคาสะสม - .......... xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
ตัวอย่าง อาคาร 1,000,000.- บาท ประมาณว่าใช้ได้ 20 ปี หักค่าเสื่อมราคาปีละ 50,000.- บาท ใช้ไป 15 ปี 1 ม.ค.53 ต่อเติม ปรับปรุง ซ่อมแซม ให้มีสภาพดีขึ้นจ่ายเงินไป 200,000.- บาท Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 200,000.- Cr. เงินสด 200,000.-
รายจ่ายที่เป็นค่าใช้จ่ายรายจ่ายที่เป็นค่าใช้จ่าย รักษาสภาพมาตรฐานการใช้งานเดิมไว้ ไม่เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน จำนวนเงินไม่มาก และเกิดขึ้นสม่ำเสมอทุกงวด รายจ่ายในการบำรุงรักษา/ซ่อมแซมตามปกติ Dr. ........... (ประเภทค่าใช้จ่าย) xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
ตัวอย่าง เครื่องจักร 1,000,000.- บาท ประมาณว่าใช้ได้ 10 ปี ใช้ไป 8 ปี ซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องจักร เพื่อให้สามารถใช้ได้ต่อไปเป็นเงิน 20,000 บาท ถือเป็นค่าใช้จ่าย Dr. ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร 20,000.- Cr. เงินสด 20,000.-
ตีราคา ตามราคาตลาด โดยผู้ประเมินราคาอิสระ ต้องตีราคาทุกรายการที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน ระยะเวลา ตีราคาใหม่แต่ละครั้งไม่ต่ำกว่า 5 ปี บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ส่วนทุนของสหกรณ์ บัญชีกำไร / ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ รายได้ หรือค่าใช้จ่าย การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ปรับราคาตามบัญชีสุทธิ (สินทรัพย์/ค่าเสื่อมราคาสะสม) = มูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้นปี - คำนวณค่าเสื่อมราคาตามราคาที่ตีใหม่ - โอนส่วนเกินทุนฯ ที่ถือว่าเกิดขึ้นแล้วเข้าทุนสำรอง 13
ตัวอย่าง การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ - ประเภทไม่ต้องคิดค่าเสื่อมราคา ที่ดิน - ราคาเมื่อซื้อ 60,000 บาท ตีราคาใหม่ในปีปัจจุบัน 100,000 บาท Dr. ที่ดิน 40,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 40,000 ส่วนเกินฯ - แสดงรายการในส่วนทุนของสหกรณ์ ต่อมามีการตีราคาที่ดินใหม่ เหลือ 50,000 บาท Dr.ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 40,000 ขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 10,000 Cr.ที่ดิน 50,000 14
ตัวอย่าง การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ - ประเภทต้องคิดค่าเสื่อมราคา อาคารมีราคาทุน 1,200,000 บาท อายุใช้งาน 10 ปี ใช้มา 2 ปี ตีราคาใหม่ 1,000,000 บาท อาคาร 1,200,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม 240,000(1,200,000 x 2/10) ราคาตามบัญชีสุทธิ 960,000 ราคาที่ตีใหม่ 1,000,000(มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์) ส่วนเกินทุนฯ 40,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาอาคารเพิ่ม 40,000 15
ค่าเสื่อมราคาตามราคาสินทรัพย์ใหม่ = 125,000 ค่าเสื่อมราคาตามราคาสินทรัพย์เดิม = 120,000 5,000 ณ วันสิ้นปีคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา = 1,000,000/8 = 125,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา - อาคาร 125,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม - อาคาร 125,000 ส่วนเกินทุนฯ ที่ถือเป็นรายการที่เกิดขึ้นแล้ว Dr. ส่วนเกินทุนฯ 5,000 Cr. ทุนสำรอง 5,000 16
บันทึกมูลค่าที่ดิน ด้วยมูลค่ายุติธรรม (ราคาประเมินโดยสำนักงานที่ดิน) โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินค้างชำระทั้งหมด ที่ดินได้รับแทนการชำระหนี้ ราคาประเมิน สูงกว่า จำนวนเงินค้างชำระ ผลต่าง “เงินรอจ่ายคืน” ราคาประเมิน ต่ำกว่า จำนวนเงินค้างชำระ หนี้ค้างส่วนที่เหลือ - เรียกเก็บจากลูกหนี้ต่อไป - ถ้าไม่สามารถเรียกเก็บได้ ให้ประมาณการค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญเต็มจำนวน 17
ค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ สิ้นปีบัญชี สหกรณ์คำนวณค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ ให้สอดคล้องกับสภาพการใช้งาน และใกล้เคียงความเป็นจริงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ คำนวณค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ได้ 2 วิธี + วิธีเส้นตรง + วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี 18
วิธีเส้นตรง - อัตราค่าเสื่อมราคา อาคารถาวร ฉาง เครื่องสีข้าว ร้อยละ 5 - 10 เรือข้าว ร้อยละ 5 - 15 เรือยนต์และอุปกรณ์เรือ ร้อยละ 10 - 15 อุปกรณ์ฉาง เครื่องจักร เครื่องยนต์ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์สำนักงาน ร้อยละ 10 - 20 รถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ร้อยละ 20 - 25
วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปีวิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี ใช้กับอาคารและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพการใช้งานสูงในระยะแรก และประโยชน์ที่ให้ในระยะหลังไม่แน่นอน หรือใช้งานไปนานอาจเกิดค่าซ่อมแซมมาก โดยประมาณอายุการใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ แล้วคำนวณอัตราส่วนการใช้งานของแต่ละปี ระยะเวลาตัดจำหน่าย ต้องไม่เกินกว่าวิธีเส้นตรง
วิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคาวิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคา หาผลรวมของอายุการใช้งาน โดยนำอายุการใช้งานที่มีอยู่ในปีแรกบวก อายุการใช้งานที่เหลืออยู่ในปีต่อ ๆ ไปทุกปี เป็นตัวส่วน อายุการใช้งานที่เหลืออยู่ของแต่ละปี เป็นตัวเศษ แล้วคูณด้วยราคาทุนของอาคารและอุปกรณ์ ดังนี้ อายุการใช้งานที่เหลือของแต่ละปี X ราคาทุนของอาคารและอุปกรณ์ ผลรวมของอายุการใช้งาน
ตัวอย่าง สหกรณ์ซื้อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (1 ก.ค. X0) ราคา 45,000.- บาท ประมาณว่าใช้งานได้ 5 ปี สิ้นปีบัญชี 31 มี.ค. X1 คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 1 = 5 x 45,000 5 + 4 + 3 +2 +1 = 5 x 45,000 = 15,000 บาท 15 Dr. ค่าเสื่อมราคาเครื่องคอมพิวเตอร์ 15,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสมเครื่องคอมพิวเตอร์ 15,000.-
คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 2 = 4 x 45,000 15 = 12,000 บาท คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 3 ตัวเศษเปลี่ยนเป็น 3 คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 4 ตัวเศษเปลี่ยนเป็น 2 คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 5 ตัวเศษเปลี่ยนเป็น 1
กรณีมีรายจ่ายที่ทำให้มูลค่าสินทรัพย์เพิ่มขึ้นกรณีมีรายจ่ายที่ทำให้มูลค่าสินทรัพย์เพิ่มขึ้น การคิดค่าเสื่อมราคา ไม่เพิ่มอายุการใช้งาน > คำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ส่วนที่ปรับปรุง ตามอายุการใช้งานคงเหลือของสินทรัพย์เดิม เพิ่มอายุการใช้งาน > คำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ ตามอายุการใช้งาน คงเหลือที่เปลี่ยนไป 24
ตัวอย่าง อาคารมูลค่า 1,000,000 บาท อายุการใช้งาน 20 ปี ใช้งานมาแล้ว 15 ปี 1 ม.ค. 53 จ่ายเงินปรับปรุงอาคารให้มีสภาพดีขึ้น 200,000 บาท โดยอายุการใช้งานเท่าเดิม Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 200,000 Cr. เงินสด 200,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา - อาคาร 90,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม - อาคาร 90,000 ค่าเสื่อมราคา (เดิม) = 1,000,000/20 = 50,000 ค่าเสื่อมราคา (ส่วนที่ปรับปรุง) = 200,000/5 = 40,000 ราคาตามบัญชีก่อนปรับปรุง = 250,000 ราคาทุนส่วนที่ปรับปรุง = 200,000 90,000 450,000/5 = 90,000 25
ตัวอย่าง ซื้อเครื่องจักร 60,000 บาท อายุการใช้งาน 10 ปี ใช้งานมาแล้ว 5 ปี 1 ม.ค. 53 จ่ายเงินปรับปรุงเครื่องจักรให้มีสภาพดีขึ้น 8,000 บาท ทำให้ใช้งานต่อไปได้อีก 8 ปี Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 8,000 Cr. เงินสด 8,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 4,750 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 4,750 ราคาตามบัญชีหลังปรับปรุง =60,000 – (60,000/10 x 5) + 8,000= 38,000 ค่าเสื่อมราคาปีละ = 38,000 / 8 = 4,750 26
+ วิธีเส้นตรง ถ้าใช้งานไม่เต็มปีให้คำนวณค่าเสื่อมราคาเป็นวัน นับจากวันที่อาคารและอุปกรณ์พร้อมใช้งาน (1 ปี 365 วัน) + วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี แม้ว่าจะใช้งานไม่เต็มปี ให้คำนวณค่าเสื่อมราคาเต็มปี + เลือกใช้วิธีใดแล้ว ต้องใช้วิธีนั้นอย่างสม่ำเสมอตลอดอายุการใช้งาน + เมื่อคิดค่าเสื่อมราคาถึงงวดสุดท้ายแล้ว ให้คงเหลือมูลค่าไว้ 1 บาทต่อหน่วย จนกว่าจะสิ้นสภาพ หรือตัดบัญชีได้ + หมดอายุการใช้งานแล้ว เมื่อชำรุด สิ้นสภาพ ให้ตัดจำหน่ายออกจาก บัญชีในปีที่สิ้นสภาพ โดยบันทึกไว้ในบัญชีค่าเสื่อมราคา
คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.ศ. 2547
สินทรัพย์ประเภทที่ไม่อาจแลเห็น และจับต้องไม่ได้ มีลักษณะเป็นสิทธิต่าง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด สินทรัพย์ไม่มีตัวตน การวัดมูลค่าเริ่มแรก บันทึกด้วยราคาทุน ราคาซื้อ xx บวก ภาษี , รายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องโดยตรง xx หัก ส่วนลดการค้า , ภาษีที่ได้รับคืน xx ราคาทุน xx
1. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัด ให้ตัดจ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาการให้ประโยชน์ + ตามอายุการให้ประโยชน์ที่จำกัด + อายุการให้ประโยชน์น้อยกว่าอายุสิทธิตามกฎหมาย ตัดจ่ายตามอายุการให้ประโยชน์ที่แท้จริง + อายุการให้ประโยชน์ไม่เต็มปีตัดจ่ายเป็นวัน นับจากวันที่ พร้อมที่จะใช้ประโยชน์ได้ (1 ปี มี 365 วัน) + สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกี่ยวกับอาคารและอุปกรณ์ ตัดจ่ายไม่น้อยกว่าจำนวนที่คำนวณจากอัตราค่าเสื่อมราคา + ตัดจ่ายจนหมดมูลค่าทางบัญชีในปีสุดท้ายของอายุการ ให้ประโยชน์ แม้ว่าจะยังใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
2. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่จำกัด ให้ตัดจ่ายไม่น้อยกว่าจำนวนที่คำนวณจากอัตราค่าเสื่อมราคา อาคารและอุปกรณ์ โดยตัดจ่ายไม่เกิน 20 ปี 3. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้ตัดจ่ายตามอายุการใช้งาน แต่ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 - 25 ของราคาทุนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น 4. ให้ตัดจ่ายโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้น และบันทึกค่าตัดจ่ายไว้ในทะเบียนสินทรัพย์ถาวรด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กรณีได้มาพร้อมกับซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ถือเป็นสินทรัพย์ กรณีได้มาหลังจากใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ถือเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การได้มา 1. ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป บันทึกมูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน Dr.สิทธิการใช้ซอฟท์แวร์ xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
2. ว่าจ้างให้ผู้อื่นพัฒนา / สหกรณ์พัฒนาเอง บันทึกด้วยค่าใช้จ่ายที่จ่ายไป Dr.ซอฟท์แวร์ระหว่างพัฒนา xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.ซอฟท์แวร์ xx Cr.ซอฟท์แวร์ระหว่างพัฒนา xx โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเอง และใช้งานได้ระยะหนึ่ง ภายหลังนำมาพัฒนาต่อเพื่อให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ให้บันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโปรแกรม
การตัดจ่าย • ตามระยะเวลาของอายุการใช้งาน • ตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ซอฟท์แวร์ใหม่ • ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 - 25 ของราคาทุน • ตัดจ่ายโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้น Dr. ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ซอฟท์แวร์/ ค่าตัดจ่ายซอฟท์แวร์ xx Cr.สิทธิการใช้ซอฟท์แวร์/ซอฟท์แวร์ xx
สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดินสิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน สิทธิการครอบครองและใช้ประโยชน์จากที่ดิน โดยไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน การได้มา บันทึกราคาทุน = จำนวนเงินที่จ่าย + ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 1. นำที่ดินมาใช้ในการดำเนินงาน Dr.สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx 2. ยังไม่ได้นำที่ดินมาใช้ในการดำเนินงาน Dr.สิทธิครอบครองที่ดินรอการใช้ประโยชน์ xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
การตัดจ่าย • การใช้สิทธิ์มีอายุจำกัด ตัดจ่ายตามอายุสิทธิ์ที่ได้รับ • การใช้สิทธิ์มีอายุไม่จำกัด ตัดจ่ายไม่เกิน 20 ปี • ตัดจ่ายโดยตรงกับสิทธิ์ จนกว่าจะหมดมูลค่าทางบัญชี Dr.ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน xx Cr.สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน xx ตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดินได้ระยะหนึ่ง ภายหลังมีการจ่ายเงินเพื่อพัฒนาที่ดินเพิ่มเติม บันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาที่ดิน (ไม่มีนัยสำคัญ) บันทึกเป็น สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน (มีนัยสำคัญ)
สิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างสิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้าง สิทธิการใช้สินทรัพย์ที่สหกรณ์สร้าง/พัฒนาปรับปรุง บนที่ดินที่สหกรณ์ไม่ได้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ การได้มา บันทึกราคาทุน = จำนวนเงินที่จ่าย + ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 1. สิ้นสุดสัญญาอาคาร/สิ่งปลูกสร้างเป็นของเจ้าของที่ดิน Dr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน............ระหว่างก่อสร้าง xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน............... xx Cr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน.......ระหว่างก่อสร้าง xx
2. สิ้นสุดสัญญาอาคาร/สิ่งปลูกสร้างเป็นของสหกรณ์ สามารถรื้อถอนไปได้ Dr.อาคาร/สิ่งปลูกสร้างระหว่างก่อสร้าง xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง xx Cr.อาคาร/สิ่งปลูกสร้างระหว่างก่อสร้าง xx 3. สหกรณ์เช่าอาคาร/สิ่งปลูกสร้าง Dr.สิทธิการเช่า.............. xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.ค่าเช่า...................... xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
การตัดจ่าย • การใช้สิทธิ์มีอายุจำกัด ตัดจ่ายตามอายุสิทธิ์ที่ได้รับ • การใช้สิทธิ์มีอายุไม่จำกัด ตัดจ่ายตามอายุการใช้งานของสินทรัพย์ • ตัดจ่ายโดยตรงกับสิทธิ์ จนกว่าจะหมดมูลค่าทางบัญชี Dr. ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ใน......... / ค่าตัดจ่ายสิทธิการเช่า......... xx Cr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน............... / สิทธิการเช่า.............. xx
ตัวอย่าง สร้างอาคารบนที่ราชพัสดุ 2,000,000 บาท ได้รับสิทธิการใช้ประโยชน์ 20 ปี ตั้งแต่ 1 ม.ค. 53 การตัดจ่าย 31 ธค. 53 Dr. ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคาร 100,000 Cr. สิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคาร 100,000 40