350 likes | 749 Views
การเตรียมตัวรับการประเมินผล การปฏิบัติงานของครูที่โรงเรียน. ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.4/ว 17 ลงวันที่ 30 กันยายน 2552. ศึกษาหลักเกณฑ์การประเมิน. 1. คุณสมบัติ 1.1 ดำรงตำแหน่ง/วิทยฐานะตามมาตรฐานวิทยฐานะ 1.2 มีภาระงาน - ขั้นต่ำตามที่ส่วนราชการกำหนด
E N D
การเตรียมตัวรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูที่โรงเรียนการเตรียมตัวรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูที่โรงเรียน ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ.ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0206.4/ว 17 ลงวันที่ 30 กันยายน 2552
ศึกษาหลักเกณฑ์การประเมินศึกษาหลักเกณฑ์การประเมิน • 1. คุณสมบัติ • 1.1 ดำรงตำแหน่ง/วิทยฐานะตามมาตรฐานวิทยฐานะ • 1.2 มีภาระงาน • - ขั้นต่ำตามที่ส่วนราชการกำหนด • (เฉพาะตำแหน่งครู) • - นอกนั้นเต็มเวลา • 1.3 ปฏิบัติงานตามหน้าที่ย้อนหลัง 2 ปี ติดต่อกันนับถึง • วันที่ยื่นคำขอ
ศึกษาหลักเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) • 2. ต้องผ่านการประเมิน 3 ด้าน ดังนี้ • ด้านที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม • และจรรยาบรรณวิชาชีพ • ด้านที่ 2 ด้านความรู้ความสามารถ • ด้านที่ 3 ด้านผลการปฏิบัติงาน
ด้านที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ • การมีวินัย การประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ ความรับผิดชอบในวิชาชีพ
ด้านที่ 1 (ต่อ) • ผู้ขอต้องรายงานพฤติกรรมตนเองที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตามแบบ ก.ค.ศ. 2 และรวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิงไว้ที่สถานที่ปฏิบัติงาน(โรงเรียน) เพื่อรอรับการประเมิน
ด้านที่ 1 (ต่อ) • เมื่อเขียนรายงานแล้วให้นำเสนอ • - ผู้บังคับบัญชา • - คณะกรรมการสถานศึกษา • เพื่อรับรองความเป็นผู้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
ด้านที่ 1 (ต่อ) • หลักฐานอ้างอิง • 1. สำเนาประวัติการรับราชการ (ก.พ.7) • 2. วุฒิบัตร เกียรติบัตร ฯลฯ เกี่ยวกับการมีวินัยและการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมวินัย • 3. คำรับรองของผู้บังคับบัญชา และคณะกรรมการสถานศึกษา
ด้านที่ 2 ด้านความรู้ความสามารถ • ส่วนที่ 1 ความสามารถในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ • ส่วนที่ 2 การพัฒนาตนเอง
ด้านที่ 2 (ต่อ) • ผู้ขอต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการพัฒนางานในหน้าที่ และการพัฒนาตนเอง โดยเก็บไว้ที่สถานที่ • ปฏิบัติงาน(โรงเรียน) เพื่อรอรับการประเมินจากคณะกรรมการชุดที่ 1
ด้านที่ 2 (ต่อ) • ครูผู้สอน • ส่วนที่ 1 การเป็นผู้มีความสามารถในการจัด • การเรียนการสอน พิจารณาจาก • - หลักสูตร • - แผนการจัดการเรียนรู้ • - สื่อ / นวัตกรรม • - แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร
ด้านที่ 2 (ต่อ) • ครูผู้สอน • ส่วนที่ 2 การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในสาขาหรือกลุ่มสาระที่รับผิดชอบ(40 คะแนน) • 2.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ • 2.2 ผลการทดสอบจากหน่วยงานหรือสถาบันทางวิชาการ • 2.3 การประมวลความรู้และการนำไปใช้สอน • 2.4 การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ
ด้านที่ 3 ด้านผลการปฏิบัติงาน • ส่วนที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพ • (60 คะแนน) • ส่วนที่ 2 ผลงานทางวิชาการ • (40 คะแนน)
ด้านที่ 3 ด้านผลการปฏิบัติงาน • ส่วนที่ 1 ผลการพัฒนา • คุณภาพผู้เรียน • (60 คะแนน)
ด้านที่ 3 (ต่อ) • ครู ส่วนที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พิจารณาจาก • - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • - ผลประเมินหรือการทดสอบระดับเขต/ประเทศ • - ผลการพัฒนาผู้เรียนด้านอื่น ๆ • โดยคำนึงถึงปริมาณ คุณภาพ และสภาพของงาน (อาจพิจารณาการปฏิบัติงานจริงด้วยก็ได้)
ผู้ขอต้องรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามแบบ ก.ค.ศ. 3/1
ด้านที่ 3 ด้านผลการปฏิบัติงาน • ส่วนที่ 2 ผลงานทางวิชาการ (40 คะแนน) ชำนาญการพิเศษ ผลงานไม่น้อยกว่า 1 รายการ เชี่ยวชาญ ผลงานไม่น้อยกว่า 2 รายการ (ต้องเป็นงานวิจัยอย่างน้อย 1 รายการ) เชี่ยวชาญพิเศษ ผลงานไม่น้อยกว่า 2 รายการ (ต้องเป็นงานวิจัยและพัฒนาอย่างน้อย 1 รายการ)
ด้านที่ 3 (ต่อ) • ผลงานทางวิชาการ พิจารณาจาก • 1. คุณภาพของผลงานทางวิชาการ • 2. ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ
ด้านที่ 3 (ต่อ) • คุณภาพของผลงานทางวิชาการ • - ความถูกต้องตามหลักวิชาการ • - ความสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระ • - ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • - การจัดทำ การพิมพ์ และการจัดรูปเล่ม
ด้านที่ 3 (ต่อ) • ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ • - ประโยชน์ต่อผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา การจัดการศึกษา หน่วยงานการศึกษา และชุมชน • - ประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ และการเผยแพร่ในวงวิชาการ
หลักเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) • 3. คณะกรรมการประเมิน มี 2 ชุด • - ชุดที่ 1 ประเมินด้านที่ 1 และด้านที่ 2 • - ชุดที่ 2 ประเมินด้านที่ 3 ดร.รัตนา ศรีเหรัญ สำนักงาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ
หลักเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) • 4. คณะกรรมการชุดที่ 1 • - ประเมินด้านที่ 1 และด้านที่ 2 • (ให้ประเมินที่สถานศึกษา โดยตรวจสอบเอกสารหลักฐาน และผลการปฏิบัติงานจริง) • - บันทึกคะแนนผลการประเมิน • - บันทึกจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา • - ส่งผลการประเมินให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หลักเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) • 5. คณะกรรมการชุดที่ 2 • - ตั้งจากบัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ ก.ค.ศ.ให้ความเห็นชอบ (ผู้ขอ 1 ราย มีกรรมการประเมิน 3 คน) • - ประเมินด้านที่ 3 ทั้ง 2 ส่วน (ผลการพัฒนาคุณภาพฯและผลงานทางวิชาการ)
วิธีการ • 1. ให้ผู้ขอส่งคำขอและผลงานด้านที่ 3 ได้ปีละ 1 ครั้ง • 2. ขอได้ทั้งปี (ผู้ที่จะเกษียณอายุราชการให้ยื่นคำขอ • พร้อมผลงานด้านที่ 3 ก่อนเกษียณอายุราชการ • ไม่น้อยกว่า 6 เดือน) • 3. ผู้ขอสามารถพัฒนาผลงานด้านที่ 1 และด้านที่ 2 ได้ • ไม่เกิน 2 ครั้ง ๆ ละ ไม่เกิน 3 เดือน
วิธีการ (ต่อ) • 4. หากผ่านด้านที่ 1 และด้านที่ 2 จึงจะประเมินผลงาน • ด้านที่ 3 • 5. ผู้ขอสามารถปรับปรุงผลงานด้านที่ 3 ทั้ง 2 ส่วน ได้ไม่เกิน • 2 ครั้ง (ผลการประเมินต้องผ่านเกณฑ์จากกรรมการ • ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 คน)ครั้งที่ 1 ไม่เกิน 6 เดือน และ • ครั้งที่ 2 ไม่เกิน 3 เดือน
วิธีการ (ต่อ) • 6. การอนุมัติ • - ไม่ก่อนวันที่ สพท. / สำนักงาน ก.ค.ศ. รับคำขอ • - ถ้ามีการพัฒนาด้านที่ 1 หรือด้านที่ 2 หรือปรับปรุงด้านที่ 3 ให้อนุมัติไม่ก่อนวันที่ สพท./สำนักงาน ก.ค.ศ. • ได้รับหนังสือที่ส่งรายละเอียดในการพัฒนาหรือ • ปรับปรุงครบถ้วนสมบูรณ์ครั้งหลังสุด
วิธีการ (ต่อ) • 7. ถ้าประเมินไม่เสร็จใน 1 ปี สพท. / สำนักงาน ก.ค.ศ. • ต้องแจ้งผู้ขอทราบ และเร่งรัดการดำเนินการให้แล้ว • เสร็จ โดยเร็ว • 8. ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะต้องมี • เงินเดือนห่างขั้นต่ำไม่เกิน 1 ขั้น • 9. ต้องผ่านการพัฒนาก่อนแต่งตั้งตามมาตรา 80เฉพาะ • วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ และวิทยฐานะเชี่ยวชาญ
ขั้นตอนการขอมีและเลื่อนวิทยฐานะขั้นตอนการขอมีและเลื่อนวิทยฐานะ • 1. ยื่นแบบเสนอขอ ดังนี้ • - วิทยฐานะชำนาญการทุกตำแหน่ง ใช้แบบ ก.ค.ศ. 1 • - วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ ทุกตำแหน่ง ใช้แบบ ก.ค.ศ. 1/1
ขั้นตอน (ต่อ) • 2. ยื่นแบบรายงานด้านที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ทุกตำแหน่ง ทุกวิทยฐานะตามแบบ ก.ค.ศ. 2 • 3. ยื่นแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน • - วิทยฐานะชำนาญการทุกตำแหน่ง ตามแบบ ก.ค.ศ. 3 • - วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ ทุกตำแหน่ง ตามแบบ ก.ค.ศ. 3/1 – 3/4 พร้อมผลงานทางวิชาการ