1 / 75

การบริหารงานบุคคลของเทศบาล

การบริหารงานบุคคลของเทศบาล. นายวิษณุ วิทยวราวัฒน์ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นชำนาญการ สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่. การบริหารงานบุคคล พนักงานเทศบาล. การคัดเลือก.

gilles
Download Presentation

การบริหารงานบุคคลของเทศบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงานบุคคลของเทศบาลการบริหารงานบุคคลของเทศบาล นายวิษณุ วิทยวราวัฒน์ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นชำนาญการ สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

  2. การบริหารงานบุคคลพนักงานเทศบาล

  3. การคัดเลือก หมายถึง การสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่น และการดำเนินการเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น มี 4 วิธี

  4. การคัดเลือก การสอบแข่งขัน การคัดเลือก กรณีมีเหตุพิเศษ การสอบคัดเลือก การคัดเลือก

  5. การสอบแข่งขัน คือการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเป็นพนักงานส่วนท้องถิ่น การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษแข่งขัน คือการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้ง ให้เป็นพนักงานส่วนท้องถิ่น การสอบคัดเลือก คือการคัดเลือกพนักงานส่วนท้องถิ่น ให้ดำรงตำแหน่งต่างสายงาน / ในระดับที่สูงขึ้น/จากผู้ปฏิบัติเป็นบริหาร

  6. การสอบเปลี่ยนสายงานผู้ปฏิบัติเป็นสายงานผู้บริหาร แต่งตั้งกรรมการสอบคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 5 คน ปลัดเทศบาล เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ ผู้แทนพนักงานเทศบาล เป็นกรรมการ

  7. การสอบคัดเลือกสายงานผู้บริหาร แต่งตั้งกรรมการสอบคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 7 คน ผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.ท.จ. 1 คน เป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการใน ก.จังหวัด 2 คน เป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน เป็นกรรมการ นายก อปท./ผู้แทน 1 คน เป็นกรรมการ ท้องถิ่นจังหวัด เป็นกรรมการ ปลัด อปท. เป็นกรรมการ ผู้แทนข้าราชการ/พนักงานที่นายก อปท.แต่งตั้ง เป็นเลขานุการ

  8. การคัดเลือก การคัดเลือกพนักงานเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น มี 4 กรณี ดังนี้ การคัดเลือกในระดับควบ การคัดเลือกนอกระดับควบ การคัดเลือกนอกระดับควบสายงานวิทยาศาสตร์ การคัดเลือกสำหรับตำแหน่งบริหาร

  9. การคัดเลือกเพื่อรับโอนการคัดเลือกเพื่อรับโอน เป็นการคัดเลือกเพื่อรับโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น มาดำรงตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีมีตำแหน่งว่าง

  10. การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษการคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษ ผู้ที่ได้รับทุนจากรัฐบาล/ทุนของ อปท. ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ ก.จว.อนุมัติ ผู้สำเร็จการศึกษาตามใตคุณวุฒิที่ ก.กลางกำหนด สอบได้แต่บรรจุไม่ได้เพราะรับราชการทหาร สอบได้แต่แต่มีเหตุที่ไม่อาจเข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ บรรจุผู้มีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญสูง

  11. การสอบแข่งขัน อปท. ดำเนินการเอง หรืออาจมอบให้หน่วยงานของ รัฐดำเนินการได้ (อบต.ร้องขอ ก.อบต.จว.ก่อน) • การดำเนินการมีลักษณะเช่นเดียวกันกับการสอบแข่งขันแต่สอบเฉพาะ ภาค ข และภาค ค ส่วนภาค ก. กรมฯ เป็นผู้ดำเนินการสอบ • อปท. เป็นผู้สอบใช้บัญชีได้เฉพาะ อปท.ที่เปิดสอบ *ก.จังหวัด เป็นผู้สอบใช้บัญชีได้เฉพาะ อปท.จังหวัดนั้น

  12. การคัดเลือก 1. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้นในระดับควบ อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ดำเนินการ ประเมินบุคคล และผลการปฏิบัติงาน

  13. อปท.กำหนดแบบประเมิน มีรายละเอียด ดังนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน หน้าที่ความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ การประเมินการปฏิบัติงานและคุณลักษณะบุคคล สรุปความเห็นการประเมิน เสนอตามลำดับชั้น เกณฑ์การตัดสินต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. นายกพิจารณาแต่งตั้ง

  14. 2. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น นอกระดับควบ สำหรับตำแหน่งผู้ปฏิบัติที่มีประสบการณ์ อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท. แต่งตั้งกรรมการพิจารณาคุณสมบัติ และ ประเมินผลงาน

  15. คณะกรรมการ ประธาน ข้าราชการ หรือพนักงาน หรือที่เคยเป็นในสายงานสูงกว่าไม่น้อยกว่า 1 ระดับ หรือผู้ทรงที่ชำนาญสายงานนั้น กรรมการอย่างน้อยระดับเท่ากัน หรือผู้ทรงมีผลงานประจักษ์ ไม่น้อยกว่า 2 ไม่เกิน 5 อปท.แต่งตั้งเลขา ฯ 1 คน

  16. กรรมการกำหนดแบบประเมิน ดังนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน หน้าที่ความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ การประเมินการปฏิบัติงานและคุณลักษณะบุคคล เอกสารแสดงผลการปฏิบัติงานหรือผลงานวิชาการ สรุปความในการประเมิน ของคณะกรรมการ ฯ เกณฑ์การตัดสินต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. นายกพิจารณาแต่งตั้ง

  17. 3. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น นอกระดับควบ ตำแหน่งสายงานวิทยาศาสตร์ วิชาชีพเฉพาะ อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท. แต่งตั้งกรรมการ ประเมินบุคคลและผลงาน

  18. คณะกรรมการ กรณี เลื่อนระดับ 7 ลงมา ผู้ทรงใน ก.จว.เป็นประธานและผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขา หรือข้าราชการ ไม่ต่ำกว่า ระดับ 8 กรรมการอย่างน้อย 2 คน ระดับเท่ากับระดับที่จะเลื่อน เลขา 1 คน คณะกรรมการ กรณี เลื่อนระดับ 8 วและ วช ขึ้นไป ผู้ทรงที่เป็นหรือเคยเป็น ระดับ 9 ขึ้นไป เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขา หรือข้าราชการ ไม่ต่ำกว่าระดับ 8 ในสาขานั้น อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการ และ เลขา 1 คน

  19. คณะกรรมการ กรณีเลื่อนระดับ 9วช และ 9วช ขึ้นไป ผู้ทรงในสาขา ที่เป็น / เคยเป็นระดับ 10 เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขา หรือข้าราชการ ไม่ต่ำกว่าระดับ 9 อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการ ผอ.สำนักที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ และแต่งตั้งเลขา 1 คน แบบและวิธีประเมิน เหมือนสายผู้มีประสบการณ์ เกณฑ์การตัดสินต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. นายกพิจารณาแต่งตั้ง

  20. 4. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น สำหรับตำแหน่งผู้บริหาร อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท.แต่งตั้งกรรมการคัดเลือก ไม่กว่า 7 คน ดังนี้ 1. ผู้ทรงใน ก.จว. เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการใน ก.จว.2 คน 3. ผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญการสอบ 1 คน 4. นายก / หรือผู้แทน 1 คน (อบต.ให้ปลัด ฯ) 5. ท้องถิ่นจังหวัด และ 6. พนักงานท้องถิ่น 1 คนเป็นกรรมการ/เลขา ฯ

  21. การดำเนินการของคณะกรรมการการดำเนินการของคณะกรรมการ • อาจแต่งตั้งกรรมการสอบสัมภาษณ์ ประเมินความเหมาะสม • กำหนดวัน / เวลา / สถานที่คัดเลือก ประกาศก่อนไม่ น้อยกว่า 5 วันทำการ / กรรมการ เป็นผู้ประกาศรับสมัคร • จัดเจ้าหน้าที่รับสมัครไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ • ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิก่อนไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ • นายกแต่งตั้ง / ภายหลังมีตำแหน่งว่างภายใน 60 วัน นับแต่ประกาศ อาจแต่งตั้งที่เหลือในบัญชีได้

  22. การคัดเลือกเพื่อรับโอนการคัดเลือกเพื่อรับโอน เมื่อตำแหน่งผู้บริหารว่าง และ อปท.จะดำเนินการรับโอน อปท.แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อรับโอน ประกอบด้วย ผู้ทรงใน ก.จังหวัด เป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการ 1 คน /ผู้ทรง 1 คน / นายกหรือ ผู้แทน 1 คน / ปลัด อปท. 1 คน / ท้องถิ่น จว. 1 คน พนักงาน 1 คน เป็นกรรมการ

  23. กรณีโอนปลัดให้เปลี่ยนกรรมการที่เป็นปลัดเป็น หน.ส่วนราชการใน อปท. กรรมการผู้แทนส่วนราชการ ให้แต่งตั้งจาก หน.ส่วนราชการประจำจังหวัด ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร อปท. หรือข้าราชการพลเรือน ระดับ 7 ขึ้นไป ให้แต่งตั้งพนักงานท้องถิ่นไม่ต่ำกว่า ผอ.กอง หรือ หน.ส่วนราชการ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ

  24. เลื่อนระดับนอกระดับควบเลื่อนระดับนอกระดับควบ 1. มีคุณวุฒิ คุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 2. ดำรงตำแหน่งที่ต่ำกว่า 1 ระดับไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ 4. มีเงินเดือน ถึงระดับ สายงานเริ่มต้น ระดับ 1,2 มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบ สายงาน เริ่มต้นจากระดับ 3 1. มีคุณวุฒิคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 2. มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ 3. มีเงินเดือนในปีงบประมาณที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่าอัตราเงินเดือน

  25. อัตราเงินเดือนในการเลื่อนระดับนอกระดับควบอัตราเงินเดือนในการเลื่อนระดับนอกระดับควบ

  26. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 ดำรงตำแหน่งในระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 6,800 บาท ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 2 ระดับ 3 ดำรงตำแหน่งในระดับ 1 ไม่น้อยกว่า 2 ปี ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 2 ระดับ 1

  27. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 8 ปี - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 8,770 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 9,230 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 5 ระดับ 4 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 6 ปี - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 7,170 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 7,560 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 4 ระดับ 3

  28. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า ระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 4 ปี กรณีวุฒิ ปวท. ให้เพิ่มเป็น 5 ปี ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 8,320 บาท ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 3 ระดับ 4 ดำรงตำแหน่งในระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี กรณีวุฒิ ปวส. หรือไม่น้อยกว่า 3 ปี กรณีวุฒิ ปวท. ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 2 ระดับ 3

  29. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 5 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 8 ปี กรณีวุฒิ ปวส. หรือไม่น้อยกว่า 9 ปี กรณีวุฒิ ปวท. - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 11,350 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 11,350 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 6 ว ระดับ 5 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 6 ปี ในกรณี ปวส. หรือไม่น้อยกว่า 7 ปี กรณี ปวท. - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 8,770 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 9,230 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 5 ระดับ 4

  30. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือไม่ต่ำกว่า ระดับ 3 มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี กรณี ป.ตรี หรือไม่น้อยกว่า 3 ปี กรณี ป.โท ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 10,190 บาท ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 5 ระดับ 4 ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 ไม่น้อยกว่า 2 ปี กรณี ป.ตรี หรือไม่น้อยกว่า 1 ปี กรณี ป.โท (ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 4 ระดับ 3

  31. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 • - ดำรงตำแหน่งในระดับ 5 ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดำรงตำแหน่งในระดับ 4 • ไม่น้อยกว่า 4 ปี • ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 6 ปี กรณี ป.ตรี หรือ 4 ปี • กรณี ป.โท หรือ 2 ปี กรณี ป.เอก • - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 11,350 บาท • - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 11,350 บาท • - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 5 ระดับ 6 ว

  32. การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 6 ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดำรงตำแหน่ง ไม่ต่ำกว่าระดับ 5 ไม่น้อยกว่า 4 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 7 ปี กรณีวุฒิ ป. ตรี หรือ 5 ปี กรณีวุฒิ ป.โท หรือ 3 ปี กรณีวุฒิ ป.เอก - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 13,960 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 13,960 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 7 ว ระดับ 6 ว

  33. การนับระยะเวลา อาจนำระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งใน สายงานอื่น ซึ่งเป็นงานที่มีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันได้

  34. การเลื่อนขั้นเงินเดือนการเลื่อนขั้นเงินเดือน • เลื่อนปีละ 2 ครั้ง • ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายนของปีงบประมาณที่เลื่อน (1 ต.ค. - 31 มี.ค.) • ครั้งที่ 2 วันที่ 1 ตุลาคมของปีงบประมาณถัดไป • ผู้บังคับบัญชาประเมิน • ผู้มีคุณสมบัติ • นำผลการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานเป็นหลักในการพิจารณา อปท. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน • ผู้บริหารออกคำสั่งเลื่อน • ครั้งที่ 1 เลื่อนได้ 1 ขั้นไม่เกิน 15% ของจำนวนข้าราชการ ณ วันที่ 1 มี.ค. • ครั้งที่ 2 เลื่อนได้ไม่เกิน 6% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ ณ วันที่ 1 ก.ย. โดยหักวงเงินที่เลื่อนครั้งแรกออก รายงาน ก.จังหวัด

  35. การสั่งพนักงานเทศบาลประจำเทศบาลการสั่งพนักงานเทศบาลประจำเทศบาล กรณีมีเหตุผลความจำเป็น จำนวน 11ประการ เทศบาลเสนอขอให้ความเห็นชอบ กรณี (1)-(7) 1. คำชี้แจงเหตุผลระยะเวลา 2. หน้าที่ ความรับผิดชอบ (ไม่ต้องกำหนดตำแหน่งใหม่) กรณี (8)-(11) 1. คำชี้แจงเหตุผล ระยะเวลา 2. หน้าที่ ความรับผิดชอบ (ไม่ต้องกำหนดตำแหน่งใหม่) กรณี (8)-(11) 1. คำชี้แจงเหตุผล ระยะเวลา 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ต้องกำหนดตำแหน่งประจำใหม่ 1 2 1 ก.ท.จ. ให้ความเห็นชอบ ก.ท.จ. ให้ความเห็นชอบ ก.ท.จ. ให้ความเห็นชอบ ก.ท. ให้ความเห็นชอบ การขอกำหนดตำแหน่งประจำ นายกเทศมนตรีสั่งให้ประจำ เทศบาลตามระยะเวลาที่กำหนด เมื่อหมดความจำเป็น/ครบกำหนดเวลาแล้ว ให้นายกเทศมนตรีโดยความเห็นชอบของ ก.ท.จ. สั่งให้ดำรงตำแหน่งเดิมหรือตำแหน่งอื่นในระดับเดียวกัน กรณีมีเหตุผลความจำเป็นพิเศษ ขอขยายเวลาได้ไม่เกิน 1ปี

  36. การสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการการสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการ คำจำกัดความ การสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการเป็นการชั่วคราว หมายความว่า การ ให้พนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการอื่นภายในเทศบาลเดียวกันหรือต่างเทศ บาลหรือส่วนราชการอื่นหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือส่วนราชการส่วนท้องถิ่น การสั่งช่วยปฏิบัติ ราชการภายในเทศบาล นายกเทศมนตรีมีอำนาจสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการในเทศบาล เดียวกันได้ทุกตำแหน่ง ห้ามมิให้สั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการหน่วยงานอื่น การสั่งช่วยปฏิบัติ ราชการภายนอกเทศบาล เว้นแต่มีความจำเป็นเพื่อเป็นประโยชน์ต่อราชการ นายกเทศมนตรีอาจสั่งพนักงานไปช่วยปฏิบัติ ราชการหน่วยงานอื่นได้ภายในเงื่อนไข 1. เทศบาล และหน่วยงานอื่นตกลงเป็นหนังสือ 2. พนักงานเทศบาล สมัครใจโดยทำเป็นหนังสือ 3. พนักงานเทศบาลผู้นั้นมีความรู้ ความสามารถในงานที่ถูกสั่งไปช่วยปฏิบัติราชการ 4. สั่งไปช่วยปฏิบัติราชการได้เป็นการชั่วคราว ครั้งละไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 2 ครั้ง 5. หากจำเป็นต้องสั่งไปช่วยราชการกรณีเดียวกันเกิน 2 ครั้ง ให้เสนอเหตุผลความจำเป็นต่อก.ท.จ. 6. การสั่งพนักงานเทศบาลที่สังกัดสถานศึกษาไปช่วยปฏิบัติราชการให้กระทำได้เพื่อช่วยปฏิบัติ หน้าที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนในสถานศึกษาเท่านั้น

  37. การขอยืมตัวข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานอื่นมาช่วยปฏิบัติงาน การขอยืมตัวข้าราชการ หมายความว่า การที่เทศบาลขอยืมตัว ข้าราชการ หรือพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือราชการส่วนท้องถิ่นที่มิใช่ พนักงานหรือลูกจ้างเทศบาลมาปฏิบัติงานในเทศบาลเป็นการ ชั่วคราว คำจำกัดความ • เทศบาลทำความตกลงกับต้นสังกัด • ผู้ถูกยืมตัว มีความรู้ความสามารถ เหมาะสมสอดคล้องกับ • ภารกิจที่จะขอยืมตัว เจ้าตัวสมัครใจ • ระยะเวลาตามที่ตกลง • ค่าตอบแทนตามที่ ก.ท.กำหนด วิธีการ

  38. ผังแสดงระยะเวลาการเปลี่ยนสายงานของผู้บริหารเทศบาลผังแสดงระยะเวลาการเปลี่ยนสายงานของผู้บริหารเทศบาล 4 ปี 2 ปี ผอ.กองต่าง ๆ 9 (นักบริหารงาน ฯ 9) ผอ.กองต่าง ๆ 8 (นักบริหารงาน ฯ 8) ผอ.ส่วนต่าง ๆ 8 (นักบริหารงาน ฯ 8) ตำแหน่ง ระดับ 7 ว หรือ 7 วช ที่มีวุฒิปริญญาตรี ดำรงตำแหน่ง มาแล้วไม่น้อย กว่า 4 ปี 2 ปี ผอ.กองต่าง 7 (นักบริหารงาน ฯ 7) ตำแหน่ง ระดับ 8 ว หรือ 8 วช ที่มีวุฒิปริญญาตรี ดำรงตำแหน่งมาแล้ว ไม่น้อย กว่า 6 ปี 2 ปี 4 ปี หัวหน้าฝ่าย 7 (นักบริหารงาน ฯ 7) สายงานต่าง ๆ ที่มีวุฒิปริญญาตรี และดำรงตำแหน่ง ในระดับ 6 2 ปี นักบริหารงาน สายงานต่าง ๆ ระดับ 6

  39. 2 ปี 4 ปี 2 ปี 2 ปี 1 ปี รองปลัด 8 ปลัด 8 รองปลัด 9 ปลัด 9 4 ปี 2 ปี 4 ปี 2 ปี 1 ปี ปลัด 7 ผอ.กอง ฯ 9 ผอ.กอง ฯ 8 2 ปี รองปลัด 7 2 ปี ผังแสดงระยะเวลาการเปลี่ยนสายงาน ของผู้บริหารเทศบาล 2 ปี 4 ปี ผอ.กอง ฯ 7 นักบริหารงาน เทศบาล ระดับ 6

  40. กรอบระดับตำแหน่งพนักงานเทศบาลตำแหน่งผู้บริหารตามขนาดของเทศบาลกรอบระดับตำแหน่งพนักงานเทศบาลตำแหน่งผู้บริหารตามขนาดของเทศบาล ขนาดของเทศบาล ระดับตำแหน่ง

  41. บัญชีจัดกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และ ระดับ2

  42. วิศวกรโยธาหรือสถาปนิก กรณีไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสามัญวิศวกรหรือ สามัญสถาปนิก สามารถเลื่อนระดับเป็นระดับ 7 ว ได้ โดยไม่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะ พยาบาลวิชาชีพในระหว่างที่ใบอนุญาตหมดอายุให้สามารถประเมินเพื่อเลื่อนระดับได้ ในสายงานวิชาการ (ว) โดยไม่ได้รับเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ

  43. บัญชีกลุ่มงานเกี่ยวข้องและเกื้อกูลของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 กับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3

More Related