1 / 14

สัญญาณชีพ

สัญญาณชีพ. อรณัฐ ชา ศิลารักษ์ พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดงจงอาง. ความหมาย.

gibson
Download Presentation

สัญญาณชีพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัญญาณชีพ อรณัฐชา ศิลารักษ์ พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดงจงอาง

  2. ความหมาย • สัญญาณชีพ (V/S) หมายถึง อุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต สัญญาณชีพเป็นสิ่งที่บ่งชี้ถึงสภาวะสุขภาพของบุคคล การวัดสัญญาณชีพใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินสภาวะสุขภาพของ ผู้ป่วย การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพสามารถบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงในการทำหน้าที่ของร่างกายได้

  3. อุ ณ ห ภู มิ • อุณหภูมิของร่างกายเป็นความสมดุลระหว่างความร้อนที่ร่างกายผลิตขึ้นกับความร้อนที่สูญเสียไปจากร่างกาย (การควบคุมอุณหภูมิ - Thermoregulation)

  4. ปาก • ข้อดี • -วัดง่าย • -ผู้ป่วยเปลี่ยนท่าได้ • -ไม่ก่อให้เกิดความลำบากใจและความวิตกกังวล • -ค่าแม่นยำ • -เป็นตัวบ่งชี้การเปลี่ยนแปลง CBT ได้อย่างรวดเร็ว • ข้อเสีย • -ผู้ป่วยต้องปิดปากอมปรอทไว้ • -มีผลจากการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ร้อนหรือเย็น, การสูบบุหรี่ (จำเป็นต้องคอย 15-30 นาที), การเคี้ยวหมากฝรั่ง และการได้รับ O2 face mask

  5. ทางทวารหนัก • ข้อดี • แม่นยำมากกว่า • ข้อเสีย • ไม่ง่ายต่อการใช้ • อาจทำให้เกิดความลำบากใจ, ขวยเขินและกังวล, ผู้ป่วยเคลื่อนไหวไม่สะดวก • ข้อห้ามไม่ใช้วัดในผู้ป่วยต่อไปนี้ : newborns, ผู้ป่วยมีอาการท้องเสีย, โรคเกี่ยวกับทวารหนักหรือการผ่าตัดทวารหนัก, โรคหัวใจหรือการผ่าตัดโรคหัวใจ, มีแนวโน้มว่าจะมี bleeding ในเด็ก newborns การวัดปรอททางทวารหนัก ทำให้เกิดแผล และ rectal perforations • ต้องใช้การหล่อลื่น

  6. การวัดทางรักแร้ • ข้อดี • -ง่าย • -ปลอดภัย • -ไม่ต้องใส่อุปกรณ์เข้าไป (non invasive) • -ใช้กับ newborns และ uncooperative ได้ • ข้อเสีย • -ใช้เวลาในการวัดนาน • -ต้องให้ Pt อยู่ท่านี้ต่อไปโดยพยาบาลต้องคอยจับ

  7. ชี พ จ ร • ชีพจรเป็นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทำให้ผนังของหลอดเลือดแดงขยายออกเป็นจังหวะ เป็นผลให้สามารถจับชีพจรได้ตลอดเวลา

  8. ตำแหน่งชีพจร • 1.peripheral • 1.1Temporal เส้นเลือดเท็มพอรัสทอดผ่านเหนือกระดูก เท็มพอรัลของศีรษะ • 1.2Carotid อยู่ด้านข้างของคอ คลำได้ชัดเจนจุดบริเวณมุมขากรรไกรล่าง • 1.3Brachial อยู่ด้านในของกล้ามเนื้อ biceps ของแขน • 1.4Radial อยู่ข้อมือด้านในบริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรือด้านหัวแม่มือ เป็นตำแหน่งที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด เพราะเป็นที่ที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย • 1.5Femoral อยู่บริเวณขาหนีบ • 1.6Poplitealอยู่บริเวณข้อพับเข่า อยู่ตรงกลางข้อพับเข่า, หาค่อนข้างยาก แต่ถ้างอเข่าก็สามารถคลำได้ง่ายขึ้น • 1.7Posterior tibialอยู่บริเวณหลังปุ่มกระดูกข้อเท้าด้านใน • 1.8Dorsalispedisอยู่บริเวณหลังเท้าให้ดูตามแนวกลางตั้งแต่หัวเข่าลงไป ชีพจรที่จับได้จะอยู่กลางหลังเท้าระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้ • 2.Apical pulse • ฟังที่ยอดหัวใจ (Apex) ในผู้ใหญ่จะอยู่ที่ 5thintercostal space, left mid clavicular line

  9. อัตราการเต้นของชีพจร • ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน ประมาณ 120-160 bpm • 1-12 เดือน ประมาณ 80 – 140 bpm • 12-2 ปี ประมาณ 80 – 130 bpm • 2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 bpm • 6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 bpm • วัยรุ่น-วัยผู้ใหญ่ ประมาณ 60 – 100 bpm

  10. ก า ร ห า ย ใ จ • กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซของร่างกายระหว่างอากาศภายนอกกับเซลล์ กระบวนการหายใจ มี 3 กระบวนการที่แตกต่างกัน แต่มีความสัมพันธ์กัน

  11. สิ่งที่ต้องสังเกตในการหายใจสิ่งที่ต้องสังเกตในการหายใจ • อัตราการหายใจ • ความลึก • จังหวะ • ลักษณะ

  12. อัตราการหายใจ • 1. ทารกแรกเกิด (newborn) ประมาณ 35-40 bpm • 2. ทารก (6 เดือน) ประมาณ 30-50 bpm • 3. 2 ปี ประมาณ 25-32 bpm • 4. เด็ก ประมาณ 20-30 bpm • 5. วัยรุ่น ประมาณ 16-19 bpm • 6. ผู้ใหญ่ ประมาณ 16-20 bpm

  13. ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต ความดันโลหิตสูง ความดันสูงกว่าปกติ ค่าบนสูงกว่า 140 mm .Hg,ค่าล่างสูงกว่า 90 mm.Hg. • อาการ ปวดศีรษะ บริเวณท้ายทอย ตาพร่า หรือมองไม่เห็น คลื่นไส้ อาเจียน ชักและหมดสติในที่สุด • ความดันโลหิตต่ำ ความดันลดต่ำลงกว่าปกติ ค่าบน ต่ำกว่า 90 mm .Hg, ค่าล่างต่ำกว่า 60 mm.Hg • อาการ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เหนื่อยง่ายกว่าปกติ หน้าซีด เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นลมหมดสติ

  14. วิธีวัดความดัน

More Related