1 / 38

โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ

4. ข้อกำหนดระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ. 4.3.1 การประเมินความเสี่ยง. การประเมินความเสี่ยง ( RISK ASSESSMENT ).

ghada
Download Presentation

โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 4. ข้อกำหนดระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ

  2. 4.3.1 การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง ( RISK ASSESSMENT ) “ เป็นกระบวนการชี้บ่งอันตราย และการประมาณระดับอันตรายว่า มีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด จากงานหรือกิจกรรมการดำเนินงาน ตลอดจนสภาพแวดล้อมในการทำงาน ”

  3. เหตุผลที่ต้องประเมินความเสี่ยงเหตุผลที่ต้องประเมินความเสี่ยง • ค้นหาอันตรายที่มีอยู่ในหน่วยงาน • ประเมินระดับอันตราย เพื่อจัดระดับความเสี่ยง • กำหนดมาตรการควบคุม ทำให้ทราบล่วงหน้าถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นจะได้หาวิธีการป้องกันแก้ไข

  4. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นที่ 1 :การระบุกิจกรรมการดำเนินงาน, พื้นที่, งาน ขั้นที่ 2 : การบ่งชี้อันตราย ขั้นที่ 3 : การประเมินระดับอันตราย (ความเสี่ยง) ขั้นที่ 4 : การจัดลำดับความเสี่ยง ขั้นที่ 5 : การขึ้นทะเบียนความเสี่ยง ขั้นที่ 6 : การกำหนดมาตรการควบคุม 1 2 3

  5. ตัวอย่างการชี้บ่งอันตรายตัวอย่างการชี้บ่งอันตราย กิจกรรมการดำเนินงานหรือจากการสำรวจสภาพแวดล้อม ลักษณะอันตรายที่เกิดขึ้น แหล่งที่กำเนิดอันตราย บุคคลที่ได้รับผลกระทบ -พนักงานและคนขับรถสูดดม เข้าไปเป็นอันตรายแต่ระบบ ทางเดินหายใจขณะปฏิบัติงาน • การจ่ายน้ำมันทางรถบรรทุก • ไอน้ำมัน - พนักงานที่ปฏิบัติงาน - คนขับรถ • น้ำมัน - พนักงานที่ปฏิบัติงาน - คนขับรถ -น้ำมันถูกผิวหนังอาจได้รับ อันตรายจากการเติมน้ำมัน - ทรัพย์สินเสียหาย - พนักงานที่ปฏิบัติงาน - คนขับรถ • ความร้อน • จากท่อไอเสีย • ของเครื่องยนต์ -ความร้อนจากท่อไอเสีย รถยนต์ที่ติดเครื่องอยู่ อาจ จะเกิดอัคคีภัยได้

  6. การประเมินระดับอันตรายหรือความเสี่ยงการประเมินระดับอันตรายหรือความเสี่ยง • ความรุนแรงของอันตรายหรือความเสี่ยง • โอกาสที่จะเกิดอันตรายหรือความเสี่ยง

  7. ระดับความรุนแรง • ความรุนแรงมาก • ความรุนแรงปานกลาง • ความรุนแรงน้อย

  8. ความรุนแรงมาก ความรุนแรงระดับนี้จะก่อให้เกิดการเสียชีวิต บาดเจ็บขั้นรุนแรงหรือสูญเสียอวัยวะหรือก่อให้เกิดโรคจากการทำงาน การบาดเจ็บ พิการ ทุพลภาพหรือทำให้ทรัพย์สินเสียหายโดยคิดเป็นเงินได้มากกว่า 100,000 บาท หรือขบวนการการผลิตหยุดชะงัก 3วันขึ้นไป

  9. ความรุนแรงปานกลาง ความรุนแรงปานกลาง เป็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นแล้วอาจจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บ ไม่รุนแรง เช่น การเกิดบาดแผลจากของมีคม หรือถูกระแทกผิวหนังอักเสบ นิ้วหัก ฯลฯ หรือทรัพย์สินเสียหาย หากคิดเป็นมูลค่าความเสียหายอยู่ในช่วงระหว่าง 50,000-100,000 บาท หรือขบวนการการผลิตหยุดชะงัก 1-2 วัน

  10. ความรุนแรงน้อย ความรุนแรงน้อย เป็นความรุนแรงที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น ปวดเมื่อย คัดจมูก เวียนศรีษะ หรือทำให้ทรัพย์สินเสียหายคิดเป็น มูลค่าต่ำกว่า 50,000 บาท หรือขบวนการ การผลิตหยุดไม่เกิน 3 ชม.

  11. โอกาสที่จะเกิดอันตรายโอกาสที่จะเกิดอันตราย • โอกาสเกิดมาก • โอกาสเกิดปานกลาง • โอกาสเกิดน้อย

  12. เกณฑ์ในการพิจารณาโอกาสที่จะเกิดอันตรายเกณฑ์ในการพิจารณาโอกาสที่จะเกิดอันตราย • จำนวนคนที่สัมผัสกับอันตราย • ความถี่และระยะเวลาที่คนเข้าไปสัมผัส • การสัมผัสกับสิ่งที่เป็นอันตราย • ระเบียบปฏิบัติงาน หรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน • การฝึกอบรมให้ความรู้

  13. เกณฑ์ในการพิจารณาโอกาสที่จะเกิดอันตรายเกณฑ์ในการพิจารณาโอกาสที่จะเกิดอันตราย • การตรวจสอบการปฏิบัติงานตามระเบียบปฏิบัติงาน หรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน • การใช้อุปกรณ์คุ้มครองภัยส่วนบุคคล • ระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์ และการใช้งาน • ระบบการตรวจความปลอดภัย • ป้ายสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ

  14. การประเมินความรุนแรง และโอกาสที่จะเกิดอันตราย ระดับความรุนแรง โอกาสที่จะเกิดขึ้นของอันตราย แหล่งกำเนิดอันตราย ระดับความเสี่ยง มาก ปานกลาง น้อย มาก ปานกลาง น้อย / / 1. ไอน้ำมัน 2. น้ำมัน / /

  15. การจัดลำดับความเสี่ยงการจัดลำดับความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดอันตราย ความรุนแรงของอันตราย มาก ปานกลาง เล็กน้อย โอกาสมาก ความเสี่ยงที่ไม่อาจยอมรับได้ ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงปานกลาง โอกาสปานกลาง ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงยอมรับได้ โอกาสน้อย ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงยอมรับได้ ความเสี่ยงเล็กน้อย

  16. ตัวอย่าง แหล่งอันตรายที่ได้จัดลำดับความเสี่ยงแล้ว ระดับความรุนแรง โอกาสที่จะเกิดขึ้นของอันตราย แหล่งกำเนิดอันตราย ระดับความเสี่ยง มาก ปานกลาง น้อย มาก ปานกลาง น้อย / / 1.1 ไอน้ำมัน ความเสี่ยงสูง 1.2 น้ำมัน ความเสี่ยงสูง / /

  17. สรุป !!! ชี้บ่งอันตราย ทุกกิจกรรมดำเนินการ ครอบคลุม P : PEOPLE E : EQUIPMENT M : MATERIAL E: ENVIRONMENTAL ประเมินระดับอันตราย โอกาส ความรุนแรง เขียน PROCEDURE จัดระดับความเสี่ยง ทะเบียน ความเสี่ยง ทบทวนการประเมินความเสี่ยง กิจกรรมเปลี่ยนแปลง แผนการควบคุม แผนการลดความเสี่ยง 4.4.1 การประเมินความเสี่ยง

  18. สรุป !!! PROCEDURE ชี้บ่งกฎหมาย จัดทำแผนการ ปฏิบัติตามกฎหมาย รวบรวมกฎหมาย บันทึก ทบทวนกฎหมาย 4.4.2 กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ

  19. ตัวอย่าง การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย พร้อมตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด เพื่อปรับปรุงแสงสว่างภายในโรงงานให้สอดคล้องกับกฎหมาย ให้ครบทุกทุกพื้นที่ ภายในวันที่ 31 ธ.ค. 2543 วันที่เสร็จ คือ 31 ธ.ค. 2543 ให้คะแนนไม่ต่ำกว่า 80 % เปอร์เซ็นต์การตรวจพื้นที่ เพื่อรักษาพื้นที่ 5ส. ด้านความปลอดภัยให้เป็นไปตามมาตรฐาน ไม่เกิน 2 ครั้ง / ปี จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อลดอุบัติเหตุจากสารเคมีในงานพ่นสีถังก๊าซ ภายใน 30 ธ.ค. 2543 วันที่แล้วเสร็จ เพื่อจัดหาสารดับเพลิงอื่นทดแทนสารฮาลอน ให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อตกลงของโลก

  20. การตรวจประเมิน การควบคุมการปฏิบัติ ความเสี่ยง นโยบาย OH & S กฎหมาย การติดตามการ ตรวจสอบและวัดผล การทบทวน การจัดการ การเตรียมการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย กำหนดแผนงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย บุคลากร งบประมาณ เวลา กิจกรรมที่ปฏิบัติ 4.4.3 การเตรียมการจัดการ OH & S สรุป !!! * ทบทวนแผนใหม่ทุกครั้งที่มีกิจกรรมขององค์กรเปลี่ยน*

  21. สรุป !!! นโยบาย OH & S ปรับปรุงดูแลระบบ ผู้บริหารระดับสูง บริหารระบบ รายงานผู้บริหาร OH & SMR หัวหน้างาน พนักงาน JD. (Safety) คณะทำงาน 4.5.1 โครงสร้างและความรับผิดชอบ

  22. สรุป !!! กำหนดแผน & หลักสูตรอบรม TRAINING NEED จัดอบรม ความรู้ความสามารถ จิตสำนึกและทัศนคติ ความเสี่ยง งานที่รับผิดชอบ ACCIDENT พนักงาน องค์กร RECORD ประเมินผล 4.5.2 การฝึกอบรม การสร้างจิตสำนึก และความรู้ความสามารถ

  23. สรุป !!! เลือกสื่อที่จะ ใช้ประชาสัมพันธ์ ภายในองค์กร ภายนอกองค์กร เรื่อง/ข้อมูล แผนการประชาสัมพันธ์ การสื่อสาร ข้อร้องเรียน องค์กรแก้ไข (มอบหมายให้ถูกคน) แจ้งผู้รายงานทราบ รับข้อร้องเรียน RECORD RECORD 4.5.3 การสื่อสาร

  24. เอกสารในระบบ มอก.18001 1. ขั้นตอนการดำเนินงาน (Procedure) อย่างน้อย 14 เรื่อง 2. เอกสาร (Document) จำนวน 6 เรื่อง

  25. ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. การประเมินความเสี่ยง 2. การบ่งชี้และติดตามกฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ 3. การเตรียมการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4. การฝึกอบรม สร้างจิตสำนึกและความปลอดภัย 5. การสื่อสาร 6. การควบคุมเอกสาร 7. การจัดซื้อจัดจ้าง 8. การเตรียมความพร้อมเพื่อรับภาวะฉุกเฉิน 9. การติดตามตรวจสอบและวัดผลการปฏิบัติ 10. การสอบเทียบเครื่องมือวัด 11. การตรวจประเมิน 12. การแก้ไขป้องกัน 13. การควบคุมบันทึก 14. การควบคุมการปฏิบัติ

  26. เอกสาร (Document) 1. ผลการทบทวนสถานะเริ่มต้น 2. นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3. โครงสร้างความรับผิดชอบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4. เอกสารอ้างอิงการเตือนอันตราย 5. ผลการทบทวนการจัดการ 6. เอกสารแสดงความเชื่อมโยงของเอกสารในระบบ มอก. 18001

  27. สรุป !!! สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิคส์ WHAT (อะไรบ้างที่ต้องทำ) MANUAL PROCEDURE WORK INSTRUCTIONS SUPPORT DOCUMENT HOW (อย่างไร, ทำอย่างไร) RECORD (บันทึก) เน้นความสัมพันธ์ของเอกสาร โครงสร้างเอกสาร 4.5.4 เอกสารและการควบคุม เอกสาร OH & S

  28. เอกสารใหม่ กำหนดวิธีการออกเอกสาร จัดทำ เอกสาร ทบทวน เอกสาร ขึ้นทะเบียน เอกสาร แจกจ่าย เอกสาร นำไปใช้งาน ณ จุดใช้งาน เป็นฉบับปัจจุบัน ถูกต้อง เปลี่ยนแปลงเอกสาร เขียนคำร้องขอ อนุมัติให้แก้ไข แก้ไขเอกสาร RECORD ของเดิม ป้องกัน/ห้ามมิให้นำไปใช้ บ่งบอกให้ชัดเจน ยกเลิกการใช้เอกสาร เขียนคำร้องขอ อนุมัติ นำเอกสารออกจากระบบ ป้องกันไม่ให้นำไปใช้ บ่งบอกให้ชัดเจน RECORD สรุป !!! 4.5.4 เอกสารและการควบคุมเอกสาร

  29. สรุป !!! พิจารณาอันตราย หาทางป้องกัน กำหนด SPEC ด้าน OH & S MSDS MANUAL ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องจักร อุปกรณ์ตรวจวัด OH & S การสอบเทียบ (CALIBRATION) คู่มือ (MANUAL) การจัดซื้อและการจัดจ้าง ความสามารถ การตอบสนองด้าน OH & S กำหนดมาตรการ OH & S ให้ปฏิบัติ การควบคุมให้ปฏิบัติตาม OH & S การจัดจ้าง ผู้รับเหมาช่วง 4.5.5 การจัดซื้อและการจัดจ้าง

  30. สรุป !!! ควบคุมแต่ละงาน หรือกิจกรรมที่ปฏิบัติอยู่ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ & เครื่องมือ อย่างปลอดภัย การตรวจสภาพพื้นที่การทำงาน (5 ส.) การบำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร การเคลื่อนย้าย การจัดเก็บ การรักษา การส่งมอบ การปฏิบัติตามกฎหมาย การควบคุมความเสี่ยง แผนงานความปลอดภัย ระบบอนุญาตเข้าทำงาน การควบคุมการปฏิบัติ 4.5.6 การควบคุมการปฏิบัติ

  31. สรุป !!! ความเสี่ยง ACCIDENT ค้นหาเหตุฉุกเฉินในหน่วยงาน จัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อลดผลกระทบเหตุฉุกเฉิน ฝึกซ้อมแผน ทบทวนแผน ตรวจสอบอุปกรณ์ความปลอดภัยเป็นระยะ ๆ 4.5.7 การเตรียมความพร้อม สำหรับภาวะฉุกเฉิน

  32. สรุป !!! ค้นหาอันตราย/ ความเสี่ยง ที่จะ มีผลต่อ “PEME” เลือกสื่อที่จะ เตือนอันตราย ติดตั้งสื่อ จัดทำเป็นเอกสาร อบรม/ประชาสัมพันธ์ คงทน ชัดเจน, เข้าใจง่าย มาตรฐานสากล ไว้อ้างอิง ให้ความรู้ ทดสอบความเข้าใจ 4.5.8 การเตือนอันตราย

  33. การติดตามตรวจสอบและวัดผลการปฏิบัติการติดตามตรวจสอบและวัดผลการปฏิบัติ เชิงรุก เชิงรับ • การตรวจสอบเครื่องจักร • การตรวจสอบความปลอดภัย • การสังเกตุการทำงาน • แผนการปฏิบัติตามแผน/วัตถุประสงค์/เป้าหมาย • การปฏิบัติตามกฎหมาย • การตรวจสิ่งแวดล้อม • การตรวจสุขภาพ • สถิติอุบัติเหตุ/อุบัติการณ์ หมายเหตุ : เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดต่างๆ ทาง OH & S ต้องมีการสอบเทียบ CALIBRATION

  34. สรุป !!! เชิงรุก • การตรวจความปลอดภัย • การสังเกตุการปฏิบัติงาน • การตรวจวัดอนามัยอุตสาหกรรม • การตรวจกิจกรรม 5ส. • การตรวจสุขภาพ • การรายงานอุบัติเหตุ • การวิเคราะห์อุบัติเหตุ • การสอบเทียบ • การบำรุงรักษา การติดตามตรวจสอบ และการวัดผลการปฏิบัติ เชิงรับ อุปกรณ์ตรวจวัด 4.6.1 การติดตามตรวจสอบและวัดผลการปฏิบัติ

  35. สรุป !!!  ระบบการจัดการ OH & S กับ ข้อกำหนด  การบรรจุตามนโยบาย และการจัดการ OH & S การตรวจประเมิน กำหนดช่วงเวลาที่เหมาะสม มีการตรวจตลอดทั้งองค์กร ครอบคลุมขอบเขต OH & S ความถี่ วิธีการประเมิน ความรับผิดชอบในการประเมิน ความรู้และคุณสมบัติผู้ตรวจ และความเป็นอิสระ 4.6.2 การตรวจประเมิน

  36. สรุป !!! การแก้ไขและการป้องกัน การติดตามตรวจสอบ การวัดผลการปฏิบัติ การตรวจประเมิน การรายงานอุบัติเหตุ ข้อร้องเรียน หาสาเหตุที่แท้จริง แก้ไข ป้องกัน กำหนดเวลาแก้ไขให้เหมาะสม นำไปปรับปรุงระบบเอกสาร 4.6.3 การแก้ไขและการป้องกัน

  37. สรุป !!! ชี้บ่ง การรวบรวม การทำดัชนี การจัดเก็บ การรักษา การทำลายบันทึก ครอบคลุมผู้รับจ้างเหมาช่วง การจัดทำและเก็บบันทึก 4.6.4 การจัดทำและเก็บบันทึก

  38. สรุป !!! กำหนดระยะเวลาการทบทวนระบบการจัดการ พิจารณาประสิทธิภาพ และประสิทธิผล • การดำเนินระบบ OH & S • ข้อกำหนด มอก. 18001 : 2542 • ผลการ AUDIT • การเปลี่ยนแปลงองค์กร • BEST PRACTICE • การปฏิบัติตามกฎหมาย การทบทวนการจัดการ การวิเคราะห์การกระทำที่จำเป็นต้องแก้ไขข้อบกพร่อง นโยบาย OH & S 4.7 การทบทวนการจัดการ

More Related