1 / 20

การถ่ายทอดนโยบาย การจัดการความรู้ กองการเงินและบัญชี

การถ่ายทอดนโยบาย การจัดการความรู้ กองการเงินและบัญชี. 19 มีนาคม 2557. สาร CKO. วิสัยทัศน์การจัดการความรู้กรมชลประทาน. “ กรมชลประทานมุ่งจัดการความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ”. สาร CKO กองการเงินและบัญชี.

Download Presentation

การถ่ายทอดนโยบาย การจัดการความรู้ กองการเงินและบัญชี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การถ่ายทอดนโยบายการจัดการความรู้กองการเงินและบัญชีการถ่ายทอดนโยบายการจัดการความรู้กองการเงินและบัญชี 19 มีนาคม 2557

  2. สาร CKO

  3. วิสัยทัศน์การจัดการความรู้กรมชลประทานวิสัยทัศน์การจัดการความรู้กรมชลประทาน “ กรมชลประทานมุ่งจัดการความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ”

  4. สาร CKO กองการเงินและบัญชี กองการเงินและบัญชีเป็นหน่วยงานสนับสนุนภารกิจด้านการเงินและบัญชีที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภารกิจหลักของกรมชลประทาน ซึ่งดิฉันมีความมุ่งมั่นและเชื่อมั่นว่าพวกเราชาวกองการเงินและบัญชีทุกคนเป็นกลไกในการร่วมผลักดันนำพาองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศในด้านมาตรฐานการทำงานและการบริการที่ดี โดยร่วมกันสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้กองการเงินและบัญชี เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง และนำความรู้ความสามารถ ศักยภาพของตนเองไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรเพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่องและหากพวกเราทุกคนไม่หยุดนิ่งที่จะพัฒนาตนเองพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ก็จะสามารถนำกองการเงินและบัญชีไปสู่เป้าหมายได้ในที่สุด

  5. วิสัยทัศน์การจัดการความรู้กองการเงินและบัญชีวิสัยทัศน์การจัดการความรู้กองการเงินและบัญชี “ เรียนรู้คู่การปฏิบัติงาน  สร้างมาตรฐานการทำงาน และบริการที่เป็นเลิศ ”

  6. ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ • พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ สร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • บูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับการทำงาน • พัฒนาองค์ความรู้และการสร้างนวัตกรรมสนับสนุนภารกิจกรมชลประทาน • พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพพัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้

  7. วัฒนธรรมการจัดการความรู้วัฒนธรรมการจัดการความรู้ 1. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง2. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้4. คิดริเริ่มสร้างสรรค์

  8. P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 10

  9. การนำองค์กรเชิงยุทธศาสตร์การนำองค์กรเชิงยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ การเรียนรู้ขององค์กร 7.4 มิติด้าน การพัฒนาองค์กร 1.2 ความรับผิด ชอบต่อสังคม 7.3 มิติด้าน ประสิทธิ ภาพของการปฏิบัติราชการ 6.1 กระบวนการ ที่สร้างคุณค่า 7.2 มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ 2.1 การจัดทำยุทธ ศาสตร์ 6.2 กระบวนการสนับสนุน 3.2 ความ สัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อเพื่อนำไปปฎิบัติ 7.1 มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ 5.1 ระบบงาน 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มี่ส่วนได้ส่วนเสีย 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.2 การจัดการสารสน เทศและความรู้ ระบบการบริหารจัดการองค์กร 1.1 การนำองค์กร

  10. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ๑. บทบาท CKO • ถ่ายทอดทิศทางของหน่วยงานโดยบูรณาการแนวทาง/แผนงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ • สร้างบรรยากาศเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ ทั้งในระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล ทั้งในส่วนของการแบบอย่างที่ดี การสนับสนุนการพัฒนาความรู้ และการเข้าไปมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ส่งเสริมพฤติกรรมของบุคลากรในสำนัก/กอง ตามวัฒนธรรมการเรียนรู้ กรมชลประทาน • พัฒนาตนเองต่อเนื่อง (Continual Self Developing) • ทำงานเป็นทีม (Team Working) • แลกเปลี่ยนเรียนรู้(Knowledge Sharing) • คิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) • เตรียมความพร้อมรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาความรู้ • ส่งเสริมให้ใช้เครื่องการจัดการความรู้ในการจัดการความรู้ของหน่วยงานอย่างเหมาะสม • กำหนดให้มีระบบการสรุปบทเรียนตามภารกิจของแต่ละหน่วยงานย่อยและภาพรวมเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพการดำเนินงาน • กำหนดระบบการกำกับ ติดตามการดำเนินการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง

  11. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ๒. แนวทางการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ระดับสำนัก/กอง • สำนัก/กองจัดทำแผนการจัดการความรู้ ระดับสำนัก/กองตามแนวทางที่ทีมงานจัดการความรู้กำหนดอย่างต่อเนื่อง ทุกปีงบประมาณ (รายละเอียดการจัดทำแผนตามคู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้) • ถ่ายทอดแผนการจัดการความรู้ให้บุคลากรในหน่วยงานทราบและมีส่วนร่วมในการดำเนินการอย่างเป็นระบบ • ดำเนินการกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้อย่างครบถ้วนและประเมินผลความสำเร็จการดำเนินการตามแผนเทียบกับเป้าหมายที่ระบุไว้ ทั้งในแบบฟอร์มที่ ๑ และแบบฟอร์มที่ ๒ • รายงานผลการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ รอบ ๖ เดือน และ ๑๒เดือน ตามแนวทางที่กำหนด

  12. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ๓. การพัฒนาคุณภาพการให้บริการ • ประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้บริการ โดยสำรวจข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการ • วิเคราะห์ข้อมูลความต้องการเพื่อกำหนดแนวทาง/วิธีการให้บริการที่ตรงกับความต้องการ • ประเมินผลความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจในการรับบริการ • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงบริการของหน่วยงานเพื่อให้บริการที่เป็นเลิศ

  13. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ๔. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ • พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ของหน่วยงานให้เป็นเอกภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจบริหารงานได้อย่างเหมาะสม • พัฒนาคลังความรู้ของหน่วยงานให้เป็นแหล่งจัดเก็บ รวบรวมความรู้ ตลอดจนให้บริการความรู้แก่ผู้รับบริการได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง • กำหนดระบบการรวบรวมองค์ความรู้ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในหน่วยงาน จัดเก็บ เผยแพร่ในคลังความรู้ โดยกำหนดหมวดหมู่อย่างชัดเจน เข้าถึงได้ง่าย • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อศึกษาแบบอย่างที่ดี และนำมาประยุกต์ใช้ปรับปรุงการดำเนินการ

  14. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ๕. การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร • พิจารณาแต่งตั้งทีมงานจัดการความรู้ของหน่วยงาน โดยให้ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานย่อยทุกหน่วยงานในสำนัก/กอง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินการอย่างทั่วถึง • พัฒนาระบบการจูงใจ สนับสนุนให้บุคลากรร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้อย่างเต็มใจ • พัฒนาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ให้แก่บุคลากรในสำนัก/กอง เพื่อให้เห็นถึงประโยชน์ • กำหนดแนวทางการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม หรือนำไปสู่การพัฒนาต่อยอดได้ โดยมุ่งเน้นการใช้ความรู้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจให้มีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น • บูรณาการกิจกรรมการจัดการความรู้ให้เชื่อมโยงกับการสร้างความผาสุกของบุคลากรในหน่วยงาน ซึ่งอาจต้องพิจารณาจากปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดความผาสุกของหน่วยงานเป็นข้อมูลที่สำคัญ

  15. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ๖. การปรับปรุงกระบวนงาน ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในการปรับปรุงกระบวนการ/วิธีการทำงานทั้งภารกิจหลัก และ ภารกิจสนับสนุน

  16. เป็นเลิศ ติดตามผล พัฒนา เปรียนแปลง ระบบการติดตาม การประเมิน และทบทวนผลการดำเนินการ ได้ข้อมูล วิเคราะห์ ปรับปรุง การประเมิน ทบทวน

  17. คำสั่งกองการเงินและบัญชี ที่ ๑ / ๒๕๕๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) และคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team) กองการเงินและบัญชี คำสั่งกองการเงินและบัญชี ที่ ๒ / ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งผู้บริหารการจัดการความรู้ (Chief Knowledge Officer หรือ CKO) และทีมงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management Team หรือ KM Team)

  18. แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้แนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ ตามแผนการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557

More Related