260 likes | 552 Views
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เขต 17 โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ SPATIAL ANALYSIS OF DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER RISK HOUSE INDEX IN REGIONS 17 USING GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM. นายทวีศักดิ์ ทองบู่
E N D
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เขต 17 โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ SPATIAL ANALYSIS OF DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER RISK HOUSE INDEX IN REGIONS 17 USING GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM นายทวีศักดิ์ ทองบู่ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก
อัตราป่วยไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553
อัตราตายไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 (ม.ค.2550 – พ.ค.2554)
ความเป็นมาของปัญหา GIS เพื่อสนับสนุนการบริหารและตัดสินใจ
ความเป็นมาของปัญหา เปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศให้มองเห็นเป็นภาพแผนที่ได้ การจำแนกปัญหาด้วยมุมมองใหม่ๆ การทดลองสร้างแบบจำลอง หลีกเลี่ยงความผิดพลาดของข้อมูล หลีกเลี่ยงการตั้งสมมุติฐานผิด ๆ
โจทย์การวิจัย การใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์ในเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรคไข้เลือดออก แต่ยังไม่แน่ชัด
จุดมุ่งหมายของงานวิจัยจุดมุ่งหมายของงานวิจัย เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกจากค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (House Index :HI)
กรอบแนวคิด ดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ปี 2551-2553 พื้นที่เสี่ยง(หมู่บ้าน)โรคไข้เลือดออก ปี 2554 GIS (Spatial Analysis)
นอกเขต วิธีการ ชุมชนแออัด รง.506 คัดเลือกหมู่บ้านที่ดำเนินการสุ่มสำรวจ ในเขตเทศบาล ชุมชนที่พักอาศัย มีค.,พค.,กค. ชุมชนพาณิชน์ ดำเนินการสำรวจ Visual larva survey (WHO) การแปลผลการสำรวจ (HI) -HI > 10 เสี่ยงสูง -HI ≤ 10 เสี่ยงต่ำ วิเคราะห์ทางสถิติโดย - ร้อยละ - ค่าเฉลี่ย • วิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) • Interpolation : (IDW) • - Overlay Program GIS พื้นที่เสี่ยง (หมู่บ้าน) โรคไข้เลือดออกจากค่า HI
Inverse Distance Weighted Interpolation (IDW) Known point 50 Known point 30 โดย Zi เป็นค่าของจุดที่ทราบค่า dij เป็นระยะทางจากจุดที่ทราบค่า Zj เป็นจุดที่ไม่ทราบค่า n เป็นเลขยกกำลังที่ผู้ใช้เลือก (1, 2 หรือ 3) d1=4 d1=2 Interpolated point d1=6 = 34 52 Known point
วิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) แผนที่(point) การแปลผลการสำรวจ Interpolation : (IDW) HI 52 HI 53 HI 51 Overlay Analysis (HI) Risk area Overlay Analysis Village
.≤10.00 > 10.00 จุดหมู่บ้านที่สำรวจและผลของค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553
.≤10.00 > 10.00 ค่าดัชนีความชุก (HI) ลูกน้ำยุงลาย ปี 2551-2553 หมู่บ้านที่สุ่มสำรวจ HI ปี 51 การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากค่า HI ปี 51 หมู่บ้านที่สุ่มสำรวจ HI ปี 52 หมู่บ้านที่สุ่มสำรวจ HI ปี 53 การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากค่า HI ปี 52 การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากค่า HI ปี 53 = เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง
พื้นที่เสี่ยงจากค่าดัชนีความชุก (HI) ลูกน้ำยุงลาย ปี 2551-2553 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง
พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (2554) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ตารางแสดงพื้นที่เสี่ยงไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายปี 2554
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์รายหมู่บ้านตัวอย่างผลการวิเคราะห์รายหมู่บ้าน
ความแม่นยำในการวิเคราะห์ความแม่นยำในการวิเคราะห์
ข้อเสนอแนะและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ข้อเสนอแนะและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ • การคาดคะเนการระบาด จุดกำเนิดหรือจุดแพร่กระจายของโรค • การนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและการทำนายแนวโน้ม (Trend) การเกิดโรคไข้เลือดออก • ผู้บริหารสามารถตัดสินใน วางแผนการดำเนินได้ทันเวลา และใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม • การพัฒนาการใช้ GIS เพื่อช่วยเหลือในการวิเคราะห์ การทำให้เห็นภาพ (Visualization) การจัดการและการพัฒนานโยบาย
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป * การติดตามความแม่นยำในการวิเคราะห์ระยะยาว * การนำปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยง เช่น > ปริมาณน้ำฝน > ความหนาแน่นของประชากร > พฤติกรรม > อุณหภูมิ > จำนวนผู้ป่วย ฯลฯ
ความสัมพันธ์ชิงเส้น ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553
การแปลค่าดัชนีทางกีฏวิทยาการแปลค่าดัชนีทางกีฏวิทยา Pant and Self (WHO,1993)ได้ให้แนวทางเกี่ยวกับการ แปลงค่าดัชนียุงลายและลูกน้ำยุงลาย ดังนี้ BI>50 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค BI<5 มีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดการแพร่โรค HI>10 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค HI<1 มีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดการแพร่โลก จิติและคณะ (2536) BI > 100 เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์ไข้เลือดออก BI < 50 เป็นพื้นที่ไม่มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก