1 / 35

โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้

โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้. วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖. ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้าน ชาก ไทย หมู่ที่ ๔ ต. ชาก ไทย อ. เขาคิชฌ กูฎ จ.จันทบุรี. การทบทวนการดำเนินงาน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน. นาย สมพงษ์ จวงพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจันทบุรี.

Download Presentation

โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้ วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านชากไทย หมู่ที่ ๔ ต.ชากไทย อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี

  2. การทบทวนการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชนการทบทวนการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน นายสมพงษ์ จวงพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจันทบุรี

  3. 1. กรรมการ - ที่มาของกรรมการ 2. อาคารสถานที่ - ชั่วคราว/ถาวร 3. ระเบียบ - มี เป็นลายลักษณ์อักษร 4. กิจกรรม - ภายใน / ภายนอก ศรช. 5. การจัดหาเงินทุน - ได้รับการสนับสนุน รัฐ, เอกชน ฯลฯ โครงสร้าง

  4. 1. การประชุม - กี่ครั้ง/เดือน 2. แผนการดำเนินงาน - มี / ไม่มี 3. การดำเนินงานตามแผน - กี่โครงการ / ทำแล้ว / ยังไม่ได้ทำ 4. การรายงานผล - ปีละ / เดือนละ ......ครั้ง การบริหารจัดการ

  5. 1. ฐานการเรียนรู้ - จำนวนฐานการเรียนรู้ในศูนย์ 2. มีกิจกรรม - จำนวน........กิจกรรม การขับเคลื่อน กิจกรรม 1. ประชาชน - จำนวน..........คน 2. ผู้นำ/กลุ่ม/องค์กร - จำนวน.......ผู้นำ/กลุ่ม/องค์กร 3. ภาครัฐ 4. ภาคเอกชน 5. มีการสร้างเครือข่าย ศรช. การมีส่วนร่วม

  6. 1. การศึกษาดูงาน - ครั้ง/เดือน/ปี 2. จำนวนคนที่ใช้บริการ - บุคคล/ภาครัฐ/ภาคเอกชน ด้านการใช้ ประโยชน์ 1. ช่องทางประชาสัมพันธ์ - วิทยุ/โทรทัศน์/เว็บไซต์/สิ่งพิมพ์/อื่น ๆ - กี่ช่องทาง ด้านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

  7. แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖

  8. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการให้สามารถดำเนิน กิจกรรมการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับชุมชน 3.เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณ์แบบ อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง 4.เพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2555

  9. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ ศรช.บ้านดาวเรือง หมู่ที่ ๑๐ ต.พลับพลา อ.เมืองฯ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณแบบ อำเภอดำเนินการ ดังนี้ ๑. อำเภอร่วมกับคณะกรรมการ ศรช.จัดเวทีประชาคม เพื่อขับเคลื่อน ศรช. จำนวน 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง ศรช. จำนวน 2๐ คน เนื้อหา ประกอบด้วย

  10. 2.พัฒนา ศรช.ตามแผนปฏิบัติการ เพื่อให้ ศรช.มีคุณลักษณะตามองค์ประกอบดังนี้ ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. กำหนดเป้าหมายรูปแบบและแผนปฏิบัติการในการดำเนินงาน ศรช.ไปสู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ จนท.จังหวัด/อำเภอเป็นที่ปรึกษา สรุปผลการจัดเวทีและประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบ ผ่านช่องทางที่เหมาะสม

  11. ๑. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่น มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ กิจกรรมความร่วมมือในการจัดการความรู้ระหว่างศูนย์เรียนรู้ชุมชน กับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่นๆ ทั้งในและนอกตำบล

  12. ๒. มีการวางระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน มีการออกระเบียบการให้บริการ ของศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อรองรับ การให้บริการสื่อ/เอกสาร/องค์ความรู้/กิจกรรม/วิทยากร หรืออื่นๆ แก่บุคคลภายนอกชุมชนตามที่คณะกรรมการ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเห็นสมควร

  13. ๓. มีกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชน มีกิจกรรมนำองค์ความรู้ด้านต่างๆที่ผ่านการจัดการโดยคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนมาเผยแพร่/ถ่ายทอดหรือแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายใต้การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน อย่างสม่ำเสมอ

  14. ๔. มีการจัดทำปฏิทินกิจกรรมการเรียนรู้ มีการกำหนด(ปฏิทินกิจกรรม) ช่วงเวลาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกันและดำเนินการตามปฏิทินของคนในชุมชนหรือกับบุคคล องค์กรภายนอกชุมชน ที่ชัดเจนเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน

  15. 5. มีการจัดกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ใหม่ของชุมชน มีการจัดกิจกรรมหรือเวทีชุมชนในการ พัฒนาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือกิจกรรมการต่อยอดความรู้ในชุมชน เช่น ร่วมกันคิดค้นนวัตกรรม/กิจกรรมหรือเครื่องมือใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาในชุมชนการวิจัยชุมชนโดยชุมชน ฯลฯ

  16. 6. มีการวางแผนเพิ่มค่าองค์ความรู้ของชุมชน มีการจัดทำแผนการนำความรู้ของชุมชน ไปเพิ่มค่า สร้างราคา ขายความรู้ได้ เช่น จัดทำหลักสูตรฝึกอบรม/จัดทำหนังสือ สิ่งพิมพ์ ออกจำหน่ายหรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา/วิทยากรชุมชน

  17. 3. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน คณะกรรมการ ศรช.ร่วมกันจัดกิจกรรม ถอดบทเรียนองค์ความรู้ที่จำเป็น/สำคัญ/โดดเด่น ภายในชุมชน จำนวน 2 เรื่อง เช่น องค์ความรู้การแก้ปัญหาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ เทคนิคหรือบทเรียนการปฏิบัติที่ดีของผู้นำ กลุ่มองค์กร เครือข่าย หรือชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ และนำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ร่วมกันในชุมชน

  18. 4. จัดมุมเผยแพร่องค์ความรู้ชุมชน จัดทำสื่อและอื่นๆ เพื่อเผยแพร่ จัดทำเป็นนิทรรศการย่อยเผยแพร่ใน ศรช. 5. จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 ถอดบทเรียนจัดทำ เป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม โดยมีประเด็นดังนี้

  19. ส่วนที่ ๑ ภูมิหลัง (ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของหมู่บ้าน) ส่วนที่ ๒ การก่อเกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชน ส่วนที่ ๓ โครงสร้างการบริหารจัดการและ ผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 4 กระบวนการ/วิธีการในการพัฒนา ศรช. สู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ ส่วนที่ 5 บทเรียนที่ดีและปัจจัยความสำเร็จ ส่วนที่ 6 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา ศรช.

  20. ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 กรอกข้อมูล ตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 1๕ กรกฎาคม 2556

  21. แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ (รักษาสภาพ) ปี ๒๕๕5

  22. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ชุมชนสมบูรณ์แบบ (รักษาสภาพ) ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๕,๐๐๐ บาท ให้แก่ ศรช.ชากไทย หมู่ที่ ๔ ต.ชากไทย อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี วัตถุประสงค์เพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2555 ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. อำเภอจัดเวทีเพื่อจัดการความรู้เพื่อวางแผนพัฒนาและขับเคลื่อน ศรช.และสร้างความรู้ใหม่ๆให้กับชุมชน ๒. มีกิจกรรมการจัดการความรู้ของชุมชน 1 เรื่อง

  23. วิธีการ - อำเภอร่วมกับคณะกรรมการ ศรช.จัดเวทีประชาคมเพื่อขับเคลื่อน ศรช. จำนวน 1 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง ศรช. จำนวน ๑๐ คน เนื้อหาประกอบด้วย ถอดบทเรียนองค์ความรู้ที่จำเป็น/สำคัญ/โดดเด่น ภายในชุมชน จำนวน 1 เรื่อง เช่น องค์ความรู้การแก้ปัญหาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ เทคนิคหรือบทเรียนการปฏิบัติที่ดี ของผู้นำ กลุ่มองค์กร เครือข่าย หรือชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. กำหนดเป้าหมาย รูปแบบและแผนปฏิบัติการของ ศรช.

  24. นำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดทำเอกสารองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่นำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดทำเอกสารองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่ จนท.จังหวัด/อำเภอเป็นที่ปรึกษา สรุปผลการจัดเวทีและประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบ ผ่านช่องทางที่เหมาะสม 3.ดำเนินการตามแผนเพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ - คณะกรรมการ ศรช. ร่วมกับท้องถิ่นและผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามความเหมาะสมตามศักยภาพของชุมชน

  25. 5. จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ศรช.สมบูรณ์แบบรักษาสภาพ ปี 2555 ถอดบทเรียน/องค์ความรู้ของชุมชน จัดทำเป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม และกรอกข้อมูลตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2556

  26. แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั่วไป ปี ๒๕๕6

  27. ศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั่วไป ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน 2,5๐๐ บาท ให้แก่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนระดับอำเภอ รวม ๘ แห่ง ประกอบด้วย ๑.ศรช.บ้านสามหนาด หมู่ที่ ๔ ต.ทุ่งเบญจา อ.ท่าใหม่ ๒. ศรช.บ้านซึ้งบน หมู่ที่ ๔ ต.ซึ้ง อ.ขลุง ๓. ศรช.บ้านเกาะสาน หมู่ที่ ๖ ต.มะขาม อ.มะขาม ๔. ศรช.บ้านแถวคลอง หมู่ที่ ๑ ต.พลิ้ว อ.แหลมสิงห์

  28. ๕.ศรช.บ้านเขาถ้ำสาลิกา หมู่ที่ ๙ ต.ทับไทร อ.โป่งน้ำร้อน ๖. ศรช.บ้านซับตาพุด หมู่ที่ ๑๐ ต.ทรายขาว อ.สอยดาว ๗. ศรช.บ้านตรอกเสม็ด หมู่ที่ ๓ ต.วังโตนด อ.นายายอาม ๘. ศรช.บ้านเหมืองแร่ หมู่ที่ ๙ ต.สามพี่น้อง อ.แก่งหางแมว ขั้นตอนการดำเนินงาน คณะกรรมการ ศรช.ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องจัดเวทีประชาคมเพื่อทบทวนการดำเนินงาน ศรช.และวางแผนปฏิบัติการในปี 2556

  29. วิธีการ จัดเวทีประชาคมโดยมีเจ้าหน้าที่อำเภอเป็นที่ปรึกษา โดยมีเนื้อหา ดังนี้ ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. ที่ผ่านมา วิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาสและอุปสรรค กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2556 วางแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน ศรช. ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร การดำเนินงาน ศรช. อย่างต่อเนื่อง

  30. ๒.ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่ในศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้เป็นปัจจุบัน๒.ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่ในศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้เป็นปัจจุบัน - คณะกรรมการ ศรช. ร่วมกับท้องถิ่นและผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ - ปรับปรุงข้อมูลใน ศรช.ให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน รวมทั้งประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอรับการสนับสนุนสื่อต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ในชุมชน - บูรณาการกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนโดยใช้ ศรช. เป็นศูนย์กลางการดำเนินงาน

  31. 3.จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล การดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน - อำเภอกรอกข้อมูลรายละเอียดตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2556

  32. ยินดีต้อนรับ สวัสดีครับ..... สวัสดีค่ะ....

More Related